Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/69271
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorPichaya Rachadawong-
dc.contributor.authorPatummart Chewha-
dc.contributor.otherChulalongkorn University. Graduate School-
dc.date.accessioned2020-11-10T04:12:38Z-
dc.date.available2020-11-10T04:12:38Z-
dc.date.issued2003-
dc.identifier.isbn9741744501-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/69271-
dc.descriptionThesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2003en_US
dc.description.abstractThe purpose of this research was to determine the impact of nickel and zinc on degradation of organic waste. This was accomplished by operating two laboratory-scale simulated landfill reactors with leachate recycle through both the acidogenic formation and methane fermentation phases of landfill stabilization. The batch anaerobic digesters were operated for 195 days. Initial conditions, such as quantities and compositions of organic waste as well as of anaerobic seeded, were kept the same for both reactors. Input organic waste consisted of vegetable and fruit wastes. After the onset of the acidogenic and methanogenic conditions in each reactor, nickel and zinc were added according to the amounts suggested for co-disposal under the directives of the Turkish Hazardous Waste Control Regulations. The leachate recirculation ratio of this experiment studied was divided into five stages (0%, 5%, 7%, 15%, and 25% of total moisture in system). The results of the experiments indicated that impact of nickel and zinc was seen on landfill stabilization process as indicated by leachate and gas production parameters, especially ORP, COD, methane percentage, and methane gas production. Moreover, the retention times of soluble nickel and zinc added during acidogenic phase and methanogenic phase were 179, 140 hours, and 71 and 57 hours, respectively. Heavy metal retention times and heavy metal effluent concentrations were compared. Nickel and zinc could stay in liquid phase for longer time and thus, remained toxic to microbial communities in the reactor that heavy metals were added during acidogenic phase. However, concentrations tended to decrease as a result of precipitation in either sulfide or carbonate form for both reactors.-
dc.description.abstractalternativeจุดประสงค์ของงานวิจัยนี้ เพื่อศึกษาผลกระทบของนิกเกิลและสังกะสีต่อการย่อยสลายของขยะในหลุมฝังกลบ ในการศึกษานี้ได้มีการจัดสร้างถังหมักขยะในสภาพไร้อากาศในระดับห้องปฏิบัติการ แบบระบบหมักที่มีการหมุนเวียนน้ำชะขยะ จำนวน 2 ชุด ซึ่งจำลองสภาวะการณ์เช่นเดียวกับสภาพของหลุมฝังกลบจริง การทดลองเป็นการหมักไร้อากาศแบบ Batch Process ตลอดระยะเวลาทำการทดลอง 195 วัน โดยควบคุมองศ์ประกอบตั้งต้นของทั้งสองระบบให้เหมือนกัน ได้แก่ ปริมาณและองศ์ประกอบของขยะและเชื้อที่ใช้เริ่มต้นระบบ ขยะวัตถุดิบที่ใช้เป็นขยะสดประเภทผักและผลไม้ หลังจากเกิดสภาวะของการสร้างกรด (Acidognic Formation) และสภาวะการผลิตก๊าซมีเทน (Methane Formation) ในถังหมักขยะถังที่ 1 และ 2 ตามลำดับ จะมีการใส่นิกเกิลและสังกะสีในถังหมักขยะโดยใช้ปริมาณของโละหะหนักที่ยอมรับตามเกณฑ์มาตรฐานของกฎหมายของประเทศตุรกี นอกจากนี้ได้มีการหมุนเวียนน้ำชะขยะโดยแบ่งอัตราหมุนเวียนน้ำชะขยะออกเป็น 5 ช่วง ตามอัตราการหมุนเวียนน้ำชะขยะกลับ แตกต่างถันที่ 0%, 5%, 7%, 15% และ 25% ตามลำดับ ผลการศึกษาพบว่า นิกเกิลและสังกะสีที่ใส่ในถังหมักขยะในช่วง ของการสร้างกรด จะมีผลต่อการย่อยสลายของขยะในหลุมฝังกลบโดยใช้การวิเคราะห์ของน้ำชะขยะทั้ง ค่าความเป็นกรด-ด่าง ปริมาณซีโอดี ค่าโออาร์พี รวมถึงปริมาณการผลิตก๊าซมีเทนเป็นตัวบ่งชี้ นอกจากนี้ยังพบว่าเวลาที่โลหะหนักปรากฎในรูปสารละลายในถังที่ใส่นิกเกิลและสังกะสีในช่วงของการสร้างกรด มีความยาวนานมากกว่า ในถังหมักขยะที่ใส่โลหะหนักในสภาวะการผลิตก๊าซมีเทน เวลาเฉลี่ยที่โละหนักปรากฏในสารละลายในน้ำชะขยะของถังที่ใส่นิกเกิลและสังกะสีในช่วงของการสร้างกรด มีค่า 179 และ 140 ชั่วโมง ตามลำดับ และในถังหมักขยะที่มีการใส่โลหะหนักในสภาวะการผลิตก๊าซมีเทน มีค่าของ เวลาที่โลหะหนักปรากฏในสารละลายสำหรับนิกเกิล และสังกะสีคือ 71 และ 57 ชั่วโมง ตามลำดับ ซึ่งแสดงว่าการใส่ขยะที่ปนเปื้อนโลหะหนักในช่วงของการสร้างกรด โลหะหนักจะสามารถละลายได้ดีและอยู่ได้นานในน้ำชะขยะและก่อให้เกิดความเป็นพิษไต้มากกว่าการใส่ขยะที่ปนเปื้อนโลหะหนักในช่วงของการผลิตก๊าซมีเทน-
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChulalongkorn Universityen_US
dc.rightsChulalongkorn Universityen_US
dc.subjectSanitary landfillsen_US
dc.subjectOrganic wastesen_US
dc.subjectLeachateen_US
dc.subjectNickelen_US
dc.subjectZincen_US
dc.subjectหลุมฝังกลบขยะen_US
dc.subjectขยะอินทรีย์en_US
dc.subjectน้ำชะขยะen_US
dc.titleImpact of nickel and zinc on degradation of organic wasteen_US
dc.title.alternativeผลกระทบของนิกเกิลและสังกะสีต่อการย่อยสลายของขยะในหลุมฝังกลบen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameMaster of Scienceen_US
dc.degree.levelMaster's Degreeen_US
dc.degree.disciplineEnvironmental Management (Inter-Department)en_US
dc.degree.grantorChulalongkorn Universityen_US
dc.email.advisorNo information provided-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Patummart_ch_front.pdf377.4 kBAdobe PDFView/Open
Patummart_ch_ch1_p.pdf659.73 kBAdobe PDFView/Open
Patummart_ch_ch2_p.pdf1.54 MBAdobe PDFView/Open
Patummart_ch_ch3_p.pdf980.16 kBAdobe PDFView/Open
Patummart_ch_ch4_p.pdf1.74 MBAdobe PDFView/Open
Patummart_ch_ch5_p.pdf641.59 kBAdobe PDFView/Open
Patummart_ch_back_p.pdf1.95 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.