Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/69329
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorSuwat Athichanagorn-
dc.contributor.authorFalan Srisuriyachai-
dc.contributor.otherChulalongkorn University. Faculty of Engineering-
dc.date.accessioned2020-11-11T03:50:45Z-
dc.date.available2020-11-11T03:50:45Z-
dc.date.issued2004-
dc.identifier.isbn9741760574-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/69329-
dc.descriptionThesis (M.Eng.)--Chulalongkorn University, 2004en_US
dc.description.abstractHorizontal and multilateral wells have gained a lot of attention since it can improve well productivity comparing with conventional well. The major benefits are to save cost by decreasing a total number of wells and increase the area of exposure or access particular area in a complex reservoir. Recently, new application for multilateral wells called intelligent completion is available. This new technology allows us to monitor and control the production and hydrocarbon from a remote location in real time. Three well geometries: horizontal, bilateral, and fishbone wells drilled in a fluvial reservoir which contains oil channel stripes and water aquifer were studied. The comparison between openhole and intelligent completion was performed. The results show that the fishbone geometry which has the longest effective length yields the highest oil production. Moreover, the fishbone well has the ability to retard water cresting phenomenon which causes high water production. The advantages of intelligent completion become more significant when the water production is limited in both completions. The effect of vertical permeability was investigated in the last part of this study. The fishbone well with intelligent completion yields more oil production with lower vertical permeability. Nevertheless, the intelligent elements do not give any advantage if the vertical permeability is extremely small because openhole well sufficiently produces oil without the disturbance from water aquifer located underneath the reservoir.-
dc.description.abstractalternativeปัจจุบันนี้หลุมน้ำมันแนวนอนหลายแขนงได้กลายเป็นที่สนใจเป็นอย่างมาก เนื่องจากหลุมน้ำมันประเภทนี้ สามารถลดค่าใช้จ่ายของการผลิตอย่างเห็นได้ชัด โดยการเชื่อมหลุมน้ำมันแนวนอนหลาย ๆ หลุมเข้าด้วยกันแทนการสร้างหลุมน้ำมันแนวดิ่งหลาย ๆ หลุม ยิ่งไปกว่านั้น หลุมน้ำมันแนวนอนยังสามารถเพิ่มพื้นที่ผิวสัมผัสกับชั้นปิโตรเลียมและช่วยในการเข้าถึงแหล่งกักเก็บปิโตรเลียมที่มีความซับซ้อนได้อย่างมีประสิทธิภาพไม่นานมานี้ ได้มีการพัฒนาเทคโนโลยีการเตรียมหลุมเพื่อการผลิตอย่างชาญฉลาด เพื่อมาประยุกต์ใช้กับหลุมน้ำมันแนวนอนหลายแขนง เทคโนโลยี ช่วยทำให้เราสามารถตรวจสอบและควบคุมการผลิตไฮโดรคาร์บอนจากแหล่งผลิตที่อยู่ในระยะทางไกล ณ เวลาใด ๆ หลุมน้ำมันแบบแนวนอนสามแบบคือ หลุมน้ำมันแนวนอนแขนงเดี่ยว, หลุมน้ำมันแนวนอนสองแขนงแบบขนาน และ หลุมน้ำมันแนวนอนลามแขนงแบบก้างปลา ได้ถูกนำมาใช้ในการศึกษากับแหล่งน้ำมันจำลอง ซึ่งประกอบไปด้วยแนวของหินน้ำมันบาง ๆ ในชั้นบน และ ชั้นน้ำด้านล่าง จากการศึกษาพบว่า หลุมน้ำมันแบบก้างปลาซึ่งมีความยาวหลุมมากที่สุด สามารถผลิตน้ำมันได้มากที่สุด ยิ่งไปกว่านั้น หลุมน้ำมันแบบนี้ยังสามารถชะลอการผลิตน้ำ จากปรากฎการณ์เครสติ้งได้ดีที่สุด เทคโนโลยีการเตรียมหลุมเพื่อการผลิตแบบชาญฉลาดแสดงให้เห็นถึงประโยชน์มากยิ่งขึ้น เมื่อกาผลิตน้ำจากหลุมน้ำมันถูกจำกัด ในขั้นตอนสุดท้าย ได้ทำการศึกษาและปรับเปลี่ยนค่าความสามารถในการซึมผ่านด้านแนวตั้งของแหล่งกักเก็บปิโตรเลียมจำลอง ผลปรากฎว่าหลุน้ำมันแนวนอนหลายแขนงผสานเทคโนโลยีการผลิตแบบชาญฉลาด สามารถเพิ่มประสิทธิภาพของการผลิตน้ำมันได้ดีที่สุดที่ค่าความสามารถในการซึมผ่านด้านแนวตั้งต่ำ ๆ อย่างไรก็ตาม ที่ค่าความสามารถในการซึมผ่านด้านแนวตั้งต่ำมาก ๆ เทคโนโลยีการเตรียมหลุมเพื่อการผลิตแบบชาญฉลาดไม่แสดงผลดีใด ๆ ทั้งนี้ หลุมน้ำมันที่มีการเตรียมเพื่อการผลิตแบบเปิด ก็สามารถผลิตน้ำมันได้ในอัตราความสามารถเดียวกัน เนื่องจากผลกระทบปรากฎการณ์เครสติ้งของน้ำมันเกิดขึ้นน้อยมาก-
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChulalongkorn Universityen_US
dc.rightsChulalongkorn Universityen_US
dc.subjectOil wellsen_US
dc.subjectOil reservoir engineeringen_US
dc.subjectบ่อน้ำมันen_US
dc.subjectวิศวกรรมแหล่งกักเก็บน้ำมันen_US
dc.titleEvaluation and optimization of multilateral well combined with intelligent completion technologyen_US
dc.title.alternativeการประเมินและการทำให้เหมาะสมของหลุมน้ำมันแบบแนวนอนหลายแขนง ผสานเทคโนโลยีการเตรียมหลุมเพื่อการผลิตแบบชาญฉลาดen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameMaster of Engineeringen_US
dc.degree.levelMaster's Degreeen_US
dc.degree.disciplinePetroleum Engineeringen_US
dc.degree.grantorChulalongkorn Universityen_US
dc.email.advisorSuwat.A@Chula.ac.th,Suwat.a@eng.chula.ac.th-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Falan_sr_front_p.pdf1.06 MBAdobe PDFView/Open
Falan_sr_ch1_p.pdf635.08 kBAdobe PDFView/Open
Falan_sr_ch2_p.pdf1.41 MBAdobe PDFView/Open
Falan_sr_ch3_p.pdf1.32 MBAdobe PDFView/Open
Falan_sr_ch4_p.pdf2.6 MBAdobe PDFView/Open
Falan_sr_ch5_p.pdf640.48 kBAdobe PDFView/Open
Falan_sr_back_p.pdf809.83 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.