Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/69351
Title: องค์ประกอบกับกลวิธีการโน้มน้าวใจในปริจเฉทการเขียนของพระพยอม กัลยาโณ
Other Titles: Components of and persuasive devices in Phra Payom Kalayano's written discourse
Authors: สุชาติ พิบูลย์วรศักดิ์
Advisors: เทพี จรัสจรุงเกียรติ
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะอักษรศาสตร์
Advisor's Email: Tepee.J@Chula.ac.th,Tepee.J@Chula.ac.th
Subjects: พระราชธรรมนิเทศ (พยอม กัลยาโณ), 2492- -- แนวการเขียน
วจนะวิเคราะห์
การโน้มน้าวใจ (วาทวิทยา)
Phra Payom Kalayano -- Style, Literary
Discourse analysis
Persuasion ‪(Rhetoric)‬
Issue Date: 2547
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: งานวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาองค์ประกอบกับกลวิธีการโน้มน้าวใจในปริจเฉทการเขียนของพระพยอม กัลยาโณ โดยศึกษาจากข้อมูลปริจเฉทการเขียนของพระพยอม กัลยาโณ และใช้ทฤษฎีปริจเฉทวิเคราะห์เป็นแนวทางในการศึกษาวิจัย ผลการวิจัยพบว่าองค์ประกอบในปริจเฉทการเขียนของพระพยอม กัลป์ยาโณประกอบด้วย ๖ องค์ประกอบเรียงลำดับกัน ได้แก่ ๑) ชื่อเรื่อง ๒) แนวความคิดสำคัญ ๓) คำทักทาย ๔) บทนำ ๕) เนื้อเรื่อง และ ๖) บทสรุป องค์ประกอบทั้งหมดเป็นองค์ประกอบที่ตายตัวและมี ความสัมพันธ์กัน กลวิธีการโน้มน้าวใจแบ่งออกได้เป็น ๔ กลวิธีใหญ่ ได้แก่ ๑) กลวิธีการใช้ภาษาเพื่อการโน้มน้าวใจ ๒) กลวิธีการอ้างอิงบุคคลที่มีชื่อเสียงเพื่อการโน้มน้าวใจ ๓) กลวิธีการอธิบายธรรมะให้เข้าใจง่ายเพื่อการโน้มน้าวใจ และ ๔) กลวิธีการเล่านิทานที่มีคติสอนใจและเรื่องเล่าครั้งพุทธกาลเพื่อการโน้มน้าวใจ กลวิธีการโน้มน้าวใจทั้งหมดปรากฏเป็นส่วนหนึ่งในองค์ประกอบของปริจเฉท
Other Abstract: The objective of this thesis is to study the components of and persuasive devices in Phra Payom Kalayano’s written discourse. The data used is based on information drawn from Phra Payom Kalayano’s books. Moreover, discourse analysis theory is used as a researching framework. Based on the data found. Phra Payom Kalayano's written discourse discloses the following 6 components : 1) Title, 2) Main idea, 3) Salutation, 4) Introduction, 5) Body, and 6) Conclusion. All of the components are related and appear frequently throughout the discourse. The persuasive devices can be classified into 4 strategies : 1) the use of language for persuasion, 2) the use of famous people for persuasion, 3) the use of simple Dhamma explanation for persuasion, and 4) the use of tale and storytelling within Bhudda period for persuasion. All of the persuasive devices appear frequently as a part of the components throughout the discourse.
Description: วิทยานิพนธ์ (อ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547
Degree Name: อักษรศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาโท
Degree Discipline: ภาษาไทย
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/69351
URI: http://doi.org/10.14457/CU.the.2004.176
ISBN: 9741767242
metadata.dc.identifier.DOI: 10.14457/CU.the.2004.176
Type: Thesis
Appears in Collections:Arts - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Suchart_pi_front_p.pdf918.87 kBAdobe PDFView/Open
Suchart_pi_ch1_p.pdf1.53 MBAdobe PDFView/Open
Suchart_pi_ch2_p.pdf3.05 MBAdobe PDFView/Open
Suchart_pi_ch3_p.pdf3.41 MBAdobe PDFView/Open
Suchart_pi_ch4_p.pdf820.73 kBAdobe PDFView/Open
Suchart_pi_back_p.pdf808.12 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.