Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/69720
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | พัชรา โพธิ์ไพฑูรย์ | - |
dc.contributor.author | ณิชาภัทร แก้วพงศ์มงคล | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี | - |
dc.date.accessioned | 2020-11-11T12:26:55Z | - |
dc.date.available | 2020-11-11T12:26:55Z | - |
dc.date.issued | 2562 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/69720 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (บธ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2562 | - |
dc.description.abstract | งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอิทธิพลและบทบาทของคุณลักษณะของความรู้และความยึดมั่นผูกพันในงานต่อความตั้งใจในการคงสมาชิกภาพของพนักงานเจนเนอเรชั่น Z โดยกลุ่มตัวอย่าง คือ ลูกจ้างภาคเอกชนในจังหวัดกรุงเทพมหานคร อายุระหว่าง 20-24 ปี จำนวน 200 คน ผู้วิจัยเก็บข้อมูลด้วยการใช้แบบสอบถามออนไลน์ ผลการวิเคราะห์การถดถอยพหุเชิงชั้นพบว่าในการตัดสินใจคงสมาชิกภาพกับองค์กร พนักงานเจนเนอเรชั่น Z ให้ความสำคัญตามลำดับกับคุณลักษณะของความรู้ 2 ด้าน ได้แก่ ด้านที่ต้องใช้ความรู้ความเชี่ยวชาญในงานและด้านการใช้ความรู้เพื่อทำงานที่มีความซับซ้อน โดยคุณลักษณะของความรู้ดังกล่าวทำให้พนักงานเจนเนอเรชั่น Z มีความผูกพันในงานอันนำไปสู่การคงสมาชิกภาพต่อองค์กร หรือสรุปได้ว่าความยึดมั่นผูกพันในงานทำหน้าที่เป็นตัวแปรคั่นกลางโดยสมบูรณ์ระหว่างคุณลักษณะความรู้ด้านความเชี่ยวชาญในงานกับความตั้งใจในการคงสมาชิกภาพ และระหว่างคุณลักษณะความรู้ด้านความซับซ้อนของงานกับความตั้งใจในการคงสมาชิกภาพ ผลการวิจัยทำให้องค์กรเข้าใจบุคลากรกลุ่มเจนเนอเรชั่น Z มากยิ่งขึ้น และสามารถออกแบบงานที่จูงใจและตรงกับความต้องการของคนรุ่นใหม่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ องค์กรสามารถใช้กลยุทธ์การออกแบบงานเป็นเครื่องมือในการสร้างความผูกพันและการรักษาบุคลากรให้คงอยู่กับองค์กรระยะยาวเพื่อสร้างความได้เปรียบในการบริหารทรัพยากรมนุษย์ | - |
dc.description.abstractalternative | This research aims to explore the roles and influences of knowledge characteristics and work engagement with intention to stay of Generation Z. Our sample is 200 Generation Z employees in Bangkok aged 20-24. We obtain data for the analysis using online questionnaire survey. Multiple hierarchical regression results show that intention to stay of Generation Z is driven through work engagement by two important knowledge characteristics, i.e. specialization and job complexity respectively. Put differently, work engagement fully mediates the links of job complexity and specialization with intention to stay. This research enhances our understandings of the Generation Z workforce enabling us to design motivational job aspects to match their preferences effectively. Organization can apply work design as a strategy to engage and retain employees with the organization in the long term for human resources management advantage. | - |
dc.language.iso | th | - |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | - |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2019.956 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | - |
dc.subject.classification | Business | - |
dc.title | ความตั้งใจในการคงสมาชิกภาพของเจนเนอเรชั่น Z : บทบาทของคุณลักษณะของความรู้และความยึดมั่นผูกพันในงาน | - |
dc.title.alternative | Intention to stay of generation Z : roles of knowledge characteristics and work engagement | - |
dc.type | Thesis | - |
dc.degree.name | บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต | - |
dc.degree.level | ปริญญาโท | - |
dc.degree.discipline | บริหารธุรกิจ | - |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | - |
dc.subject.keyword | คุณลักษณะของความรู้ | - |
dc.subject.keyword | ความยึดมั่นผูกพันในงาน | - |
dc.subject.keyword | ความตั้งใจในการคงสมาชิกภาพ | - |
dc.subject.keyword | เจนเนอเรชั่น Z | - |
dc.subject.keyword | ประเทศไทย | - |
dc.subject.keyword | Knowledge characteristics | - |
dc.subject.keyword | Work engagement | - |
dc.subject.keyword | Intention to stay | - |
dc.subject.keyword | Generation Z | - |
dc.subject.keyword | Thailand | - |
dc.identifier.DOI | 10.58837/CHULA.THE.2019.956 | - |
Appears in Collections: | Acctn - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
6181522326.pdf | 2.06 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.