Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/69773
Title: ICT development and wage premiums across countries
Other Titles: การพัฒนาของ ICT และความแตกต่างของค่าจ้างแรงงานที่มีความชำนาญสูงข้ามประเทศ
Authors: Hongwu Dai
Advisors: Manachaya Uruyos
Other author: Chulalongkorn University. Faculty of Economics
Issue Date: 2019
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: This study examines the effect of ICT on wage premium, by using data from 64 countries during the period 2010–2016. The Fixed Effect Model (FEM) is employed to study the relationship between ICT development and income inequality, by using two dependent variables: the conventional wage premium and wage premiums for ICT-intensive occupation. The main findings are: 1) the wage premium in countries with low levels of ICT development is relatively higher;  2) the development of ICT has a positive relationship with the wage premium;  3) the roles of the three sub-indexes of ICT development are different: ICT access shows a small positive relationship, while ICT use and ICT skills are significantly negative with the wage premium. However, the results of the split sample provide a different result. The development of ICT has a negative relationship with the wage premium in higher ICT developed countries.
Other Abstract: งานวิจัยนี้ศึกษาผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT) ที่มีต่อความแตกต่างของค่าจ้างแรงงานที่มีความชำนาญสูง โดยใช้ข้อมูลจาก 64 ประเทศระหว่างช่วงปีพ.ศ. 2553-2559 แบบจำลอง Fixed Effect Model ได้ถูกนำมาใช้เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการพัฒนาทางด้าน ICT และความไม่เท่าเทียมกันทางด้านรายได้ โดยใช้ตัวแปรตาม 2 ตัว คือ ความแตกต่างของค่าจ้างแรงงานที่มีความชำนาญสูงและต่ำแบบทั่วไป และความแตกต่างของค่าจ้างแรงงานที่ประกอบอาชีพที่มีความเข้มข้นของ ICT แตกต่างกัน ผลที่พบคือ 1) ความแตกต่างของค่าจ้างแรงงานที่มีความชำนาญสูงในประเทศที่การพัฒนาทาง ICT ที่ต่ำมีค่าที่สูงกว่า 2) การพัฒนาทาง ICT มีความสัมพันธ์ทางบวกกับความแตกต่างของค่าจ้างแรงงานที่มีความชำนาญสูง  3) บทบาทของดัชนีย่อยที่ใช้ชี้วัดการพัฒนาของ ICT มีความแตกต่างกัน กล่าวคือ กรณีการเข้าถึง ICT มีผลกระทบทางบวกขนาดเล็กมาก ขณะที่ดัชนีการใช้และดัชนีความชำนาญด้าน ICT มีผลกระทบทางลบอย่างมีนัยสำคัญต่อความแตกต่างของค่าจ้างแรงงานที่มีความชำนาญสูง อย่างไรก็ตามผลจากการแบ่งกลุ่มตัวอย่างประเทศได้ผลที่ต่างไป กล่าวคือการพัฒนาของ ICT มีผลกระทบทางลบต่อความแตกต่างของค่าจ้างแรงงานที่มีความชำนาญสูงในประเทศที่มีการพัฒนาทาง ICT ที่สูงกว่า
Description: Thesis (M.A.)--Chulalongkorn University, 2019
Degree Name: Master of Arts
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: Labour Economics and Human Resource Management
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/69773
URI: http://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2019.329
metadata.dc.identifier.DOI: 10.58837/CHULA.THE.2019.329
Type: Thesis
Appears in Collections:Econ - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6085619229.pdf5.17 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.