Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6980
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | นงลักษณ์ โควาวิสารัช | - |
dc.contributor.advisor | บัณฑิต ทิพากร | - |
dc.contributor.author | สุภาพร บุญฤทธิ์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2008-05-22T07:57:15Z | - |
dc.date.available | 2008-05-22T07:57:15Z | - |
dc.date.issued | 2543 | - |
dc.identifier.isbn | 9743472522 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6980 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543 | en |
dc.description.abstract | งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเทคนิค Shape from Shading (SFS) มาใช้เป็นแนวทางในการหาลักษณะพื้นผิวของเม็ดเลือดแดงจากภาพถ่ายด้วยกล้อง SEM จากการศึกษาและการนำรูปแบบการสะท้อนแบบ SEM มาประยุกต์ใช้กับวิธีการแบบทั่วไปของเทคนิค SFS ที่มีอยู่ ซึ่งใช้หลักการประมาณแบบเชิงเส้น พบว่าการเกิดค่าระดับเทาในฟังก์ชันการสะท้อนแบบ SEM ซึ่งแปรตามฟังก์ชันของ secant นั้นไม่เหมาะสมกับการใช้หลักการประมาณแบบเชิงเส้น ดังนั้นในงานวิจัยนี้จึงได้เสนอวิธีการที่ใช้หลักการประมาณแบบไม่เชิงเส้นที่ปรับปรุงมาจากวิธีการแบบเชิงเส้นสำหรับรูปแบบการสะท้อนแบบ SEM จากการทดสอบวิธีการที่เสนอกับรูปที่สร้างขึ้นตามหลักการทดสอบของเทคนิค SFS โดยใช้ภาพทรงกลมและภาพแจกันที่ทราบความสูง พบว่ามีค่าความผิดพลาดจากการประเมินด้วยค่าเฉลี่ยของขนาดของเกรเดียนต์ของความสูงเป็น 0.9 ทั้งของภาพทรงกลมและภาพแจกัน ซึ่งเป็นค่าที่ต่ำมากเมื่อเทียบกับวิธีการที่ใช้หลักการประมาณแบบเชิงเส้น และลักษณะพื้นผิวที่ได้ก็มีความใกล้เคียงกับลักษณะของพื้นผิวจริงของภาพที่สร้างขึ้นมากกว่า ผลการนำวิธีการที่เสนอไปใช้หาลักษณะพื้นผิวของภาพเม็ดเลือดแดงที่ถ่ายจากกล้อง SEM ได้ผลลัพธ์เป็นค่าความสูงของแต่ละจุดในภาพ และสามารถแสดงให้เห็นลักษณะพื้นผิวของเม็ดเลือดแดงได้จากค่าความสูงที่แสดงเป็น 3 มิติ นอกจากนี้ยังได้นำค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของการเปลี่ยนแปลงความสูงมาใช้ในการอธิบายลักษณะพื้นผิวของเม็ดเลือดแดงที่ได้ ดังนั้นการนำเทคนิค SFS มาหาลักษณะพื้นผิวของเม็ดเลือดแดงจากภาพ SEM จึงสามารถนำข้อมูลใน 3 มิติที่ได้มาใช้ในการอธิบายลักษณะของเม็ดเลือดแดงได้ ในขณะที่วิธีอธิบายลักษณะของเม็ดเลือดแดงแบบเดิมที่ใช้ทางด้านการแพทย์เป็นการนำข้อมูลใน 2 มิติมาใช้เท่านั้น | en |
dc.description.abstractalternative | The purpose of this research is to use the Shape from Shading (SFS) technique as a guideline to determine an erythrocyte's surface shape from SEM images. From the study and the results when applying SEM reflectance model with a general existing linear approximation approach of SFS technique, it has been found that gray scale values production in the SEM reflectance function, which varies upon secant function, are not appropriate with such a linear approximation approach. Therefore, a non-linear approximation approach that is adapted from linear approximation approach for the SEM reflectance model is introduced. This approach has been tested with known depth synthetic images, which are a sphere and a vase that are generated according to an SFS's testing method. From the experiment, the errors of the average magnitude of gradient of depth are 0.9 both on the sphere and the vase. These error values are very low compared to those from the linear approximation approach. The surface shapes are also more similar to the real synthetic surface shapes. The result from using the proposed approach to determine the erythrocyte's surface shape from SEM images is the depth value of each image pixel. The erythrocyte's surface shape can be viewed by representing the depth values in 3-dimension perspective. Besides, the standard deviation of the gradient of depth is used to describe the erythrocyte's surface shape. Hence, using the SFS technique to determine erythrocyte's surface shape from SEM images can describe the erythrocyte's shape from the 3-dimension information whereas the existing methods in medicine use only 2-dimension information. | en |
dc.format.extent | 6318538 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | เม็ดเลือดแดง | en |
dc.subject | กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบสแกน | en |
dc.title | การหาลักษณะพื้นผิวของเม็ดเลือดแดงจากภาพถ่ายจากกล้องเอสอีเอ็ม โดยเทคนิคการหารูปร่างจากความสัมพันธ์ของแสงและเงาของภาพ | en |
dc.title.alternative | Determination of erythrocyte's surface shape from SEM images using shape from shading technique | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | วิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | nongluk.c@chula.ac.th | - |
dc.email.advisor | bundit@cpe.kmutt.ac.th | - |
Appears in Collections: | Eng - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Supaporn.pdf | 6.17 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.