Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/69936
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ใจทิพย์ ณ สงขลา | - |
dc.contributor.author | สุกานดา จงเสริมตระกูล | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2020-11-11T13:33:36Z | - |
dc.date.available | 2020-11-11T13:33:36Z | - |
dc.date.issued | 2562 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/69936 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ค.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2562 | - |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาปัจจัยและองค์ประกอบของรูปแบบเครือข่ายฯ 2) พัฒนารูปแบบเครือข่ายฯ และ 3) ศึกษาผลการใช้รูปแบบเครือข่ายฯ การวิจัยนี้เป็นการวิจัยและพัฒนา แบ่งออกเป็น 3 ระยะ ได้แก่ 1)ศึกษาปัจจัยและองค์ประกอบของรูปแบบ โดยเก็บข้อมูลเชิงปริมาณจากครูในสถานศึกษาที่มีนโยบายการใช้เทคโนโลยีในการการสอน 179 คน และนำมาวิเคราะห์ความสัมพันธ์โมเดลสมการเชิงโครงสร้าง 2)พัฒนารูปแบบฯ และ 3)ทดลองใช้รูปแบบ โดยเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยการสังเกตจากกลุ่มตัวอย่างเป็นข้อมูลเชิงคุณภาพ แล้วนำมาวิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์ส่วนประกอบ รูปแบบเครือข่ายฯ ประกอบด้วย 2 องค์ประกอบหลัก ได้แก่ 1. เครือข่ายการเรียนรู้ส่วนบุคคลฯ ที่มี 8 องค์ประกอบย่อย ได้แก่ 1) การเรียนรู้ตามอัธยาศัย 2) ความน่าเชื่อถือของเครือข่าย 3) การมีแหล่งข่าวสารทางวิชาชีพ 4) การมีศูนย์กลางแลกเปลี่ยนความคิดเห็น 5) ความน่าเชื่อถือของสมาชิก 6) การมีคนรู้จักในเครือข่าย 7) การติดต่อสื่อสารตอบโต้ได้อย่างรวดเร็ว และ 8) ความสนใจร่วมกัน และ 2. พื้นที่การเรียนรู้ส่วนบุคคลใช้การชี้แนะทางปัญญาฯ ที่มี 5 องค์ประกอบย่อย และ 6 องค์ประกอบที่สอดคล้อง ได้แก่ 1) การเรียนรู้แบบนำตนเอง 2) การมีผู้ชี้แนะให้คำปรึกษา ซึ่งมีองค์ประกอบย่อยที่สอดคล้อง 3 องค์ประกอบ คือ ผู้ชี้แนะน่าเชื่อถือ ผู้ชี้แนะช่วยให้ผู้รับการชี้แนะพัฒนาตนเอง และผู้ชี้แนะสร้างแรงจูงใจได้ 3) การติดต่อสื่อสารได้อย่างรวดเร็ว 4) การมีระบบสำหรับการชี้แนะ ซึ่งมีองค์ประกอบย่อยที่สอดคล้อง 3 องค์ประกอบ คือ การประเมินผลด้วยการสะท้อนคิด การสังเกตการนำไปใช้ และการให้คำชี้แนะในการวางแผน และ5) การเข้าถึงพื้นที่การเรียนรู้ร่วมกัน | - |
dc.description.abstractalternative | The aims of this research were to 1) examine Personal Learning Network (PLN) and Cognitive Coaching (CC) indicators and factors that enhance growth mindset and educational innovative and information technology abilities 2) develop a model and 3) study result of model. This study used research and development which consisted of 3 phases; 1) study of model indicators and factors was conducted with 180 teachers and the data was calculated using descriptive statistic and structural equation model, 2) development of the model, and 3) implementation of the model which was observed and analysed through component analysis. A model of CCPLN consisted of 2 main factors: 1. Personal Learning Network which consisted of 8 sub-factors:1) informal learning 2) reliable network 3) professional community 4) discussion or opinion sharing center 5) reliable people 6) acquaintance 7) quick response communication and 8) sharing vision, and 2. Personal Learning Space which consisted of 5 sub-factors and 6 related factors: 1) self-regulation 2) coach 2.1) reliable coach 2.2) strength developing support 2.3) motivator 3) quick response communication 4) coaching system 4.1) reflection 4.2) observation 4.3) planning and 5) collaborative learning space. | - |
dc.language.iso | th | - |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | - |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2019.611 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | - |
dc.subject.classification | Social Sciences | - |
dc.title | รูปแบบเครือข่ายการเรียนรู้ส่วนบุคคลที่ใช้การชี้แนะทางปัญญาเพื่อส่งเสริมกรอบความคิดแบบเติบโตในการพัฒนาความสามารถด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา | - |
dc.title.alternative | Model of personal learning network with cognitive coaching for enhancing growth mindset to improve educational innovative and information technology abilities | - |
dc.type | Thesis | - |
dc.degree.name | ครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต | - |
dc.degree.level | ปริญญาเอก | - |
dc.degree.discipline | เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา | - |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | - |
dc.subject.keyword | เครือข่ายการเรียนรู้ส่วนบุคคล | - |
dc.subject.keyword | การชี้แนะทางปัญญา | - |
dc.subject.keyword | พัฒนาครู | - |
dc.subject.keyword | เครือข่ายครู | - |
dc.subject.keyword | กรอบความคิดแบบเติบโต | - |
dc.subject.keyword | ความสามารถด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา | - |
dc.subject.keyword | PERSONAL LEARNING NETWORK | - |
dc.subject.keyword | PLN | - |
dc.subject.keyword | COGNITIVE COACHING | - |
dc.subject.keyword | GROWTH MINDSET | - |
dc.subject.keyword | EDUCATION TECHNOLOGY | - |
dc.identifier.DOI | 10.58837/CHULA.THE.2019.611 | - |
Appears in Collections: | Edu - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
5784225827.pdf | 8.46 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.