Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/70113
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสิริอร เศรษฐมานิต-
dc.contributor.authorจารุวิทย์ ไกรวงศ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2020-11-11T13:41:47Z-
dc.date.available2020-11-11T13:41:47Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/70113-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2562-
dc.description.abstractงานวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและวิเคราะห์สภาพการดำเนินงานกระบวนการโหลดสินค้าของอุตสาหกรรมวัสดุทดทนไม้ และเพื่อวิเคราะห์ ตลอดจนค้นหาจุดคอขวด ของกระบวนการด้วยแผนภาพสายธารคุณค่า ที่นำไปสู่การหาแนวทางการปรับปรุงประสิทธิภาพของกระบวนการโหลดสินค้า ประกอบกับการนำแบบจำลองสถานการณ์ มาช่วยในการวิเคราะห์และเปรียบเทียบผลลัพธ์ของแต่ละแนวทางโดยใช้คลังสินค้าหนึ่งของบริษัทผู้ผลิตและจัดจำหน่ายวัสดุทดแทนไม้แห่งหนึ่ง เป็นตัวแทนของการศึกษา โดยมีเกณฑ์ชี้วัด 2 เกณฑ์ ประกอบด้วย ประสิทธิภาพด้านระยะเวลาและด้านอัตราการใช้ทรัพยากรของกระบวนการโหลดสินค้า  ซึ่งจากการวิเคราะห์นำไปสู่การนำเสนอแนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพของการโหลดสินค้า 4 นโยบาย ซึ่งได้แก่ 1) การลดการรื้อไม้และการขนย้ายไม้ระหว่างการโหลดสินค้า 2) นโยบายการลดระยะเวลารอคอยในระหว่างการโหลดสินค้าจากการรอสินค้าในการผลิต และการแพ็คสินค้า 3) การลดการรื้อไม้และการขนย้ายไม้ระหว่างการโหลดสินค้า ร่วมกับนโยบายการลดระยะเวลารอคอยในระหว่างการโหลดสินค้าจากการรอสินค้าในการผลิต และการแพ็คสินค้า และ 4) การเพิ่มชุดโหลด  (Load Resource) ในกระบวนการโหลดสินค้า จากการศึกษา พบว่า นโยบายการเพิ่มชุดโหลด (Load Resource) ในกระบวนการโหลดสินค้า สามารถปรับปรุงประสิทธิภาพของกระบวนการโหลดสินค้าในทุกเกณฑ์ชี้วัดได้มากที่สุด โดยสามารถทำให้ระยะเวลารวมเฉลี่ยของการเข้ามารับสินค้าลดลงได้ร้อยละ 3 ระยะเวลารอคอยเฉลี่ยเพื่อโหลดสินค้าประเภทรถพื้นเรียบลดลงร้อยละ 92 ระยะเวลารอคอยเฉลี่ยเพื่อโหลดสินค้าประเภทรถตู้คอนเทนเนอร์ลดลงร้อยละ 94 และระยะเวลากระบวนการโหลดสินค้าภายในคลังสินค้าลดลงร้อยละ 30 อีกทั้งยังมีอัตราการใช้ทรัพยากรในกระบวนการโหลดสินค้าไม่เกินร้อยละ 80 -
dc.description.abstractalternativeThe aim of this research is to study and analyze the current operations and bottleneck of loading process of Wood Substitute industry by using Value Stream Mapping (VSM) to identify ways to improve efficiency of loading process. Then, simulation models are used to evaluate and compare the efficiency and effectiveness of each improvement idea. The case study used in this research is a warehouse in a company that manufacture and sales of wood substitute products. The improvement effectiveness is measured by 2 criterions which are efficiency of time and resource utilization of loading process.The researchers propose four ideas to reduce non-value added time including 1) Reduce pick and transfer goods while loading 2) Reduce waiting time of loading the uncompleted manufacturing and packaging 3) The combination of Reduce pick and transfer goods while loading and Reduce waiting time of loading the uncompleted manufacturing and packaging and 4) Adding load resources. The results show that Adding load resources idea is the most effective way to reduce of all criterions. The reduction of Average total time of loading process, Average waiting time at warehouse for Flatbed truck, Average waiting time at warehouse for container truck and Average loading time that used in warehouse are 3%, 92%, 94% and 30% respectively. And resource utilization of loading process does not  exceed 80%. -
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.relation.urihttp://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2019.654-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.titleการปรับปรุงกระบวนการโหลดสินค้าของธุรกิจวัสดุทดแทนไม้โดยใช้ผังสายธารคุณค่าและการจำลองสถานการณ์-
dc.title.alternativeLoading process improvement of wood substitute industry via value stream mapping and simulation-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.THE.2019.654-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6187116320.pdf3.14 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.