Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/70649
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพรพจน์ เปี่ยมสมบูรณ์-
dc.contributor.advisorเบญจพล เฉลิมสินสุวรรณ-
dc.contributor.authorกนกพล โรจนกิจ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2020-11-11T15:00:54Z-
dc.date.available2020-11-11T15:00:54Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/70649-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2562-
dc.description.abstractปัจจุบันโลกเผชิญกับภาวะโลกร้อน ทำให้การดักจับคาร์บอนไดออกไซด์ก่อนที่แก๊สร้อนจะถูกปล่อยสู่ชั้นบรรยากาศเป็นสิ่งที่จำเป็น ในงานวิจัยที่ผ่านมาได้มีการศึกษากระบวนการดักจับคาร์บอนไดออกไซด์ด้วยตัวดูดซับของแข็งแทนที่กระบวนการดูดซึมด้วยสารละลายเอมีน และศึกษาความเป็นไปได้ทางพลังงาน ในขณะที่ความเป็นไปได้ทางเศรษฐศาสตร์ยังไม่เป็นที่สนใจ ในการวิจัยนี้จะทำการศึกษาความเป็นไปได้ทางพลังงานและเศรษฐศาสตร์ของแบบจำลองกระบวนการดักจับคาร์บอนไดออกไซด์หลังกระบวนการเผาไหม้ด้วยตัวดูดซับของแข็งที่ถูกจำลองด้วย Aspen Plus V.11.0 ที่ใช้ข้อมูลจากการทดลองของตัวดูดซับ K2CO3/ γ-Al2O3 ที่ปรับปรุงด้วยสารละลายเอมีน 3 ชนิด MEA, MDEA และ AMP จากการศึกษาพบว่าตัวดูดซับ K2CO3/γ-Al2O3 ที่ผ่านกระบวนการปรับปรุงสารละลายเอมีนมีความสามารถในการดูดซับสูงขึ้นกว่าเดิม โดยตัวดูดซับ K2CO3/γ-Al2O3 ที่ผ่านกระบวนการปรับปรุงด้วยสารละลายเอมีน ชนิด MDEA สามารถดักจับคาร์บอนไดออกไซด์มีปริมาณมากที่สุด โดยความสามารถในการดักจับคาร์บอนไดออกไซด์เพิ่มขึ้น ร้อยละ 28.81 จากนั้นนำข้อมูลจากการทดลองมาใช้ในแบบจำลองโรงไฟฟ้าที่มีระบบดักจับคาร์บอนไดออกไซด์ พบว่าแบบจำลองกระบวนการดักจับคาร์บอนไดออกไซด์ด้วยตัวดูดซับของแข็งสามารถดักจับคาร์บอนไดออกไซด์ร้อยละ 91.43 โดยมีประสิทธิภาพเอ็กเซอร์จีร้อยละ 29.24 และมีอัตราการคืนทุนที่ร้อยละ 6.55 ซึ่งดีกว่ากระบวนการดักจับคาร์บอนไดออกไซด์ด้วยสารละลายเอมีนชนิด MEA ที่มีประสิทธิภาพเอ็กเซอร์จีร้อยละ 28.27 และอัตราการคืนทุนที่ร้อยละ 3.98-
dc.description.abstractalternativeAt present, the world is faced with global warming. Carbon dioxide capture is necessary before flue gas is released to the atmosphere. From previous research, comparative energy efficiency was studied the carbon dioxide capture processes between a solid sorbent and an MEA solution. However, economic feasibility studies are not received much attention. In this research, the energy performance and economic feasibility of the post-combustion carbon dioxide capture using modified solid sorbents were studied by developing a model under Aspen Plus V.11. The performance of modified solid sorbents used in the adsorption model was obtained from experimental data. The experiment was conducted to determine the effect of 3 amine solutions: MEA, MDEA, and AMP on K2CO3/γ-Al2O3 support. It was found that the CO2 capture capacity of amine-functionalized sorbent was higher than nonfunctionalized sorbent. The amine-functionalized sorbent by MDEA showed the highest CO2 capture capacity. Then, the post-combustion CO2 capture processes, using modified K2CO3/γ-Al2O3 adsorption and MEA absorption applied to a natural gas combined cycle power plant, were simulated. From the simulation results, it was found that the former carbon dioxide capture process was capable of capturing 91.43% of produced CO2. The process had the exergy efficiency of 29.24% and a payback rate of 6.55%. On the other hand, the conventional MEA absorption had an exergy efficiency of 28.27% and a payback rate of 3.98%.-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.relation.urihttp://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2019.560-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subjectคาร์บอนไดออกไซด์ -- การลดปริมาณ-
dc.subjectโรงไฟฟ้า-
dc.subjectCarbon dioxide mitigation-
dc.subjectElectric power-plants-
dc.subject.classificationEnergy-
dc.subject.classificationEconomics-
dc.subject.classificationEngineering-
dc.titleการออกแบบกระบวนการดักจับคาร์บอนไดออกไซด์หลังการเผาไหม้ของโรงไฟฟ้าพลังงานความร้อนร่วมจากแก๊สธรรมชาติโดยใช้ K2CO3/γ-Al2O3 -
dc.title.alternativeProcess design of post-combustion co2 capture from natural gas combined cycle power plant using k2co3/γ-al2o3-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineเคมีเทคนิค-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.email.advisorPornpote.P@Chula.ac.th-
dc.email.advisorBenjapon.C@Chula.ac.th-
dc.subject.keywordกระบวนการดักจับแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์-
dc.subject.keywordโปรแกรม Aspen plus-
dc.subject.keywordกระบวนการดูดซับ-
dc.subject.keywordการวิเคราะห์เอ็กเซอร์จี-
dc.subject.keywordวิเคราะห์เศรษฐกิจเทคโน-
dc.subject.keywordCarbon dioxide capture-
dc.subject.keywordAspen plus-
dc.subject.keywordAdsorption-
dc.subject.keywordTechno-economic analysis-
dc.subject.keywordExegetic analysis-
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.THE.2019.560-
Appears in Collections:Sci - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6171902523.pdf3.28 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.