Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/70670
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวิรุฬห์ มังคละวิรัช-
dc.contributor.advisorสุวิทย์ ปุณณชัยยะ-
dc.contributor.authorหัสฤกษ์ เนียมอินทร์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2020-11-12T01:41:46Z-
dc.date.available2020-11-12T01:41:46Z-
dc.date.issued2547-
dc.identifier.isbn9745316407-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/70670-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547en_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้เป็นการพัฒนาเทคนิคการประเมินหาเงื่อนไขที่เหมาะสมในการกรองสัญญาณรบกวนสำหรับเพิ่มขีดความสามารถในการแจกพลังงาน (Energy resolution) ของสเปกตรัมนิวเคลียร์ด้วยกรรมวิธีสัญญาณเชิงคำนวณเพื่อประยุกต์ใช้กับงานออกแบบและจัดระบบวัดนิวเคลียร์ระดับงานวิจัย โดยอาศัยการคัดเลือกรูปแบบของกระบวนการแต่งรูปสัญญาณและกำหนดค่าเวลาของการแต่งรูปสัญญาณภายในอุปกรณ์ขยายสัญญาณชนิดสเปกโตรสโคปีที่เหมาะสมในการขจัดสัญญาณรบกวนจากระบบวัดส่วนหน้าให้ได้อัตราสัญญาณต่อสิ่งรบกวนสูงที่สุด กรรมวิธีสัญญาณที่พัฒนาขึ้นใช้กระบวนการจำลองสัญญาณของระบบวัดส่วนหน้าด้วยการสุ่มสัญญาณรบกวนและสัญญาณพัลส์ตามคุณลักษณะของการวัดรังสี ในอัตราสุ่มสัญญาณ 5x10⁶ ครั้งต้อวินาที สำหรับนำมากำเนิดจำนวนแรนดอมตามเทคนิคการแปลงกลับฟังก์ชันของมอนเตคาโล (Monte Carlo) บนไมโครคอทพิวเตอร์ที่ทำงานกับโปรแกรมแมทแล็บ (MATLAB) เพื่อให้ได้สัญญาณจำลองเหมือนจริงเก็บไว้เป็นฐานข้อมูล พร้อมด้วยการจำลองฟังก์ชันตัวแต่งรูปสัญญาณในอุปกรณ์ขยายสัญญาณโดยเทคนิคการประเมินฟังก์ชันของผลตอบสนองความถี่และแปลงกลับเข้าสู่ฟังก์ชันในโดเมนเวลาด้วยเทคนิคการออกแบบตัวกรองฟิลเตอร์เคอร์เนล (filter kernel) ก่อนนำสัญญาณจำลองของระบบวัดส่วนหน้าและฟังก์ชันตัวกรองในการแต่งสัญญาณเข้ากระบวนวิธีคอนโวลูชัน (convolution) เพื่อวิเคราะห์ผลการกรองสัญญาณรบกวน จากการประเมินการกระจายของขนาดสัญญาณพัลส์ตามนิยามของความสามารถในการแจกแจงพลังงาน (FWHM) ณ ตำแหน่งพีคพลังงานและอัตรานับรังสีที่จำลองขึ้น เพื่อหาความสัมพันธ์ของค่าเวลาแต่งรูปสัญญาณที่แปรเปลี่ยนไปของตัวแต่งรูปสัญญาณที่เลือกใช้กับผลของความสามารถในการแจกแจงพลังงานที่ดีที่สุดของระบบวัดสเปกตรัมพลังงานของรังสี ผลทดสอบการใช้เทคนิคการหาเงื่อนไขที่เหมาะสมเปรียบเทียบกันระหว่างวิธีทางปฏิบัติและเทคนิคการจำลองสัญญาณที่พัฒนาขึ้นกับระบบวิเคราะห์สเปกตรัมพลังงานของรังสีเอกซ์ ซึ่งใช้ระบบวัดส่วนหน้าที่มีหัววัดรังสีชนิด CdTe ของ Amptek รุ่น XTR100 และอุปกรณ์ขยายสัญญาณของ Canberra รุ่น 2022 พบว่าให้สอดคล้องกันอย่างมีนัยสำคัญและมีความคลาดเคลื่อนของตำแหน่งค่าเวลาแต่งรูปสัญญาณที่เหมาะสม 11 %en_US
dc.description.abstractalternativeThe aim of this research work is to develop an optimum noise filter evaluation technique using a signal processing method for enhancing the energy resolution in nuclear spectroscopy with application in the design and system setting-up. The technique is based on the wave shaper and its shaping time in a spectroscopy amplifier, in order to eliminate the front-end noise for obtaining the high S/N condition. The filter modeling and signal simulation are used in the developed technique. A pseudo noise integrated with nuclear pulse signal, as a data base, is simulated on a microcomputer under the MATLAB program by a random number generation using the Monte Carlo’s inverse method from the sampled signal of the front-end at a sampling rate of MS/s, while, a time domain wave shaper function of the amplifier is established by the frequency response converted function using the filter kernel designing technique. The convolution of simulated signal and modeled filter function is applied to analyze the noise filter results through pulse height distribution evaluation, according to the FWHM definition at simulated peak energy and counting rate. The relation of the shaping time variation of selected wave shaper with energy resolution results are plotted and displayed at the optimum point. The experiment for determination of optimum condition between the practical and developed evaluation techniques is based on the setup of the x-ray spectroscopy system consists of AMPTEK XTR100 CdTe in conjunction with the spectroscopy amplifier CANBERRA 2022. The test results obtained from these two methods agree significantly well with an error less than 11 %.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectElectronic noiseen_US
dc.subjectสัญญาณรบกวนทางอิเล็กทรอนิกส์en_US
dc.titleกรรมวิธีสัญญาณเพื่อเพิ่มความสามารถในการแจกแจงพลังงานสเปกตรัมนิวเคลียร์en_US
dc.title.alternativeSignal processing to enhance the energy resolution innuclear spectroscopyen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรดุษฎีบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาเอกen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมนิวเคลียร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
dc.email.advisorSuvit.P@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Hudsaleark_ne_front_p.pdf941.33 kBAdobe PDFView/Open
Hudsaleark_ne_ch1_p.pdf719.58 kBAdobe PDFView/Open
Hudsaleark_ne_ch2_p.pdf1.48 MBAdobe PDFView/Open
Hudsaleark_ne_ch3_p.pdf1.25 MBAdobe PDFView/Open
Hudsaleark_ne_ch4_p.pdf1.55 MBAdobe PDFView/Open
Hudsaleark_ne_ch5_p.pdf745.55 kBAdobe PDFView/Open
Hudsaleark_ne_back_p.pdf1.02 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.