Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/7068
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | กระบวน วัฒนปรีชานนท์ | - |
dc.contributor.author | เอกสิทธิ์ วัฒนปรีชานนท์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ | - |
dc.contributor.other | ไม่มีข้อมูล | - |
dc.date.accessioned | 2008-05-28T10:23:32Z | - |
dc.date.available | 2008-05-28T10:23:32Z | - |
dc.date.issued | 2534 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/7068 | - |
dc.description.abstract | การศึกษาความเป็นไปได้ในการนำวัสดุเหลือใช้จากการเกษตรบางชนิดมาใช้เป็นวัสดุปลูกมะเขือเทศนอกฤดูโดยไม่ใช้ดิน วัสดุปลูกที่ใช้ในการทดลองนี้ได้แก่ ทรายแกลบ ขุยมะพร้าว ขี้เถ้าแกลบ ขี้เลื่อย ชานอ้อย และฟางข้าว จากผลการทดลองพบว่า วัสดุปลูกที่ให้ผลดีที่สุดคือ ขุยมะพร้าว ซึ่งให้ผลผลิตเฉลี่ย 46.9 ผล และ 715.2 กรัมต่ดต้น ในมะเขือเทศพันธุ์ซอมบี้ และวัสดุปลูกที่มีขุยมะพร้าวผสมอยู่ได้แก่ ทรายแกลบ ขุยมะพร้าว (1:1:1 โดยปริมาตร) ซึ่งให้ผลผลิตเฉลี่ย 30 ผล และ 2,092.6 กรัมต่อต้น ในมะเขือเทศพันธุ์ซ๊อสพีโต้ วัสดุที่ให้ผลผลิตเฉลี่ยต่อต้นต่ำสุดคือ ขี้เลื่อย (8.4 ผล และ 127 กรัม ตามลำดับ) วัสดุปลูกชนิดอื่นๆ เมื่อนำมาผสมกับแกลบหรือทรายและแกลบ จะทำให้คุณสมบัติการเป็นวัสดุปลูกดีขึ้น เช่น เมื่อใช้ฟางข้าวอย่างเดียวปลูกมะเขือเทศพันธุ์ซอมบี้ จะให้ผลผลิตเฉลี่ยต่อต้น 186 กรัม แต่เมื่อนำมาผสมกับแกลบในอัตราส่วน 1:1 โดยปริมาตรจะทำให้ได้ผลผลิตเพิ่มขึ้นเป็น 437 กรัม | en |
dc.description.abstractalternative | A feasibility of using some agricultural wastes as growing media for off-season tomatoes by soilless culture was studied and reported. The media used were sand (S), rice husk (RH), coconut coir (CC), rice ash (RA), sawdust (SD), bagasse (B) and rice straw (RS). From the results, it was found that the best growing media were CC (46.9 fr. And 715.2 g/pl in var. Zombee) and those mixed media with CC such as a S+RH+CC (1:1:1 by volume) mixture (30 fr. And 2,092.6 g/pl in var. Sauce peto). The lowest yield (8.4 fr. And 127 g/pl) was found in SD. For other media, mixing with RH or RH and S gave the better results. The average yield from RS alone was 186 g/pl but from the mixture of RS+RH (1:1) was 437 g/pl in the same var. Zombee. | en |
dc.description.sponsorship | ทุนวิจัยงบประมาณแผ่นดิน ปีงบประมาณ 2534 | en |
dc.format.extent | 3705961 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | มะเขือเทศ | en |
dc.subject | ของเสียทางการเกษตร | en |
dc.subject | การใช้ของเสียให้เป็นประโยชน์ | en |
dc.title | การปลูกมะเขือเทศในวัสดุเหลือใช้จากการเกษตร : รายงานผลการวิจัย | en |
dc.title.alternative | Growing tomatoes in agricultural waste | en |
dc.type | Technical Report | es |
dc.email.author | Krabuan.W@Chula.ac.th | - |
dc.email.author | ไม่มีข้อมูล | - |
Appears in Collections: | Sci - Research Reports |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Krabuan(toma).pdf | 3.62 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.