Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/7070
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | พวงเพ็ญ ชุณหปราณ | - |
dc.contributor.author | ณัชชา อัศวภิญโญกิจ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะพยาบาลศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2008-05-28T10:55:35Z | - |
dc.date.available | 2008-05-28T10:55:35Z | - |
dc.date.issued | 2548 | - |
dc.identifier.isbn | 9741429142 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/7070 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (พย.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548 | en |
dc.description.abstract | การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาเชิงบรรยาย โดยประยุกต์วิธีการของ Ethnographic Delphi Future Research (EDFR) มาใช้ในการวิจัย มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการบริหารบุคลากรพยาบาลที่มีศักยภาพสูง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เป็นแบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น แบบสอบถามรอบแรกเป็นแบบสอบถามกึ่งโครงสร้าง ปลายเปิด และการสัมภาษณ์เชิงลึกเกี่ยวกับการบริหารบุคลากรพยาบาลที่มีศักยภาพสูง รอบที่ 2 และรอบที่ 3 เป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า แหล่งข้อมูลคือ ผู้เชี่ยวชาญทางด้านการบริหารระดับสูง จำนวน 20 ท่าน ประกอบด้วย ผู้เชี่ยวชาญด้านการบริหารทางการพยาบาลจำนวน 8 ท่าน ผู้เชี่ยวชาญด้านการบริหารทางการแพทย์จำนวน 2 ท่าน นักวิชาการในสถาบันการศึกษาที่มีความเชี่ยวชาญด้านการบริหารทางการพยาบาล 8 ท่าน ผู้เชี่ยวชาญด้านการบริหารบุคคล จำนวน 2 ท่าน วิธีดำเนินการวิจัย ประกอบด้วย 3 ขั้นตอน คือ ขั้นตอนที่ 1 การสัมภาษณ์เกี่ยวกับการบริหารบุคลากรพยาบาลที่มีศักยภาพสูง และวิเคราะห์เนื้อหาได้องค์ประกอบ 8 ด้าน ขั้นที่ 2 นำข้อมูลที่ได้จากการวิเคราะห์ นำมาสร้างแบบสอบเกี่ยวกับการบริหารบุคลากรพยาบาลที่มีศักยภาพสูง เป็นมาตราส่วนประมาณค่า ขั้นที่ 3 วิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ โดยใช้ค่ามัธยฐาน และค่าพิสัยระหว่างควอไทล์ จากแบบสอบถามรอบที่ 2 เพื่อให้ผู้เชี่ยวชาญยืนยันหรือเปลี่ยนแปลงคำตอบ หลังจากนั้นนำข้อมูลที่ได้มาคำนวณหาค่ามัธยฐานและค่าพิสัยระหว่างควอไทล์อีกครั้ง เพื่อสรุปผลการวิจัย ผลการวิจัยพบว่า การบริหารบุคลากรพยาบาลที่มีศักยภาพสูง ประกอบด้วย 8 ด้าน ได้แก่ 1) การสรรหาเชิงรุก 2) การมอบหมายงานพิเศษที่ยากและท้าทายให้เหมาะสมกับศักยภาพ 3) การบริหารบุคลากรพยาบาลแบบยืดหยุ่น 4) เปิดโอกาสให้พัฒนาตนเองอย่างเต็มศักยภาพ 5) สร้างบันไดวิชาชีพให้เกิดความก้าวหน้า 6) สร้างแรงจูงใจและทำให้เกิดการพึงพอใจในงาน 7) การประเมินผลโดยยึดผลสำเร็จของงาน และ 8) การธำรงรักษาบุคลากรพยาบาลที่มีศักยภาพสูงโดยยกย่องให้เกียรติจากผลสำเร็จของงาน | en |
dc.description.abstractalternative | To investigate high potential nursing personnel management. The method of this study was undertaken utilizing a three rounds Ethnographic Delphi Future Research Technique to elicit and assess consensus on the mangement of high potential nursing personnel. The study instrument in round 1 comprised of opened end questionnaires and in-depth interviewed concerning of high potential nursing personnel management, in 2nd and 3rd round questionnaires for level of agreement were elicited from 20 experts. Median and interquartile deviation were used to determine the consensus among experts. In this study, 20 experts were 8 nurse leaders, 2 physician administrators, 8 nurse educators and 2 peronnel managers selected by specific criteria and snowball technique. The EDFR technique consisted of 3 steps. Steps 1, in-depth interviewed in all experts and tape recorded. Data were analyzed by using content analysis and categorized into 8 dimensions. Steps 2, develop questionnaires from 8 dimensions using Likert scale. Statistics used for data analysis were median and inter quartile range. Step 3, questionnaires were sent to experts for confirmation of item rating. The result of this study were as follows : All experts who participated in round 1, 2, and 3. The response rate at 100% was achieved. The dimensions raised could be group under heading of 1) proactive recruitment, 2) provide challenging assignment, 3) management with flexibility, 4) provide fully potential self development, 5) provide career ladder advancement, 6) create promotion and satisfaction, 7) evaluation for high potential personnel success, and 8) maintenance of high potential personnel by respection | en |
dc.format.extent | 6131014 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2005.634 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | การบริหารงานบุคคล | en |
dc.subject | การพยาบาล -- การบริหารงานบุคคล | en |
dc.subject | วิจัยอนาคต | en |
dc.title | การบริหารบุคลากรพยาบาลที่มีศักยภาพสูง | en |
dc.title.alternative | High potential nursing personnel management | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | การบริหารการพยาบาล | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | Paungphen.C@Chula.ac.th | - |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2005.634 | - |
Appears in Collections: | Nurse - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
nutcha.pdf | 5.99 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.