Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/70804
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | เหรียญ บุญดีสกุลโชค | - |
dc.contributor.advisor | กุณฑลี รื่นรมย์ | - |
dc.contributor.author | ศมจรรย์ วุฒิภดาดร | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.date.accessioned | 2020-11-17T07:10:57Z | - |
dc.date.available | 2020-11-17T07:10:57Z | - |
dc.date.issued | 2540 | - |
dc.identifier.isbn | 9746381415 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/70804 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2540 | en_US |
dc.description.abstract | งานวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนารูปแบบการจัดสรรพื้นที่ชั้นวางและการจัดการสินค้าคงคลังให้กับสินค้าในร้านค้าปลีก โดยกำหนดตัวแบบการจัดสรรพื้นที่ชั้นวางและกำหนดนโยบายสินค้าคงคลังภายใต้ข้อจำกัดทางด้านพื้นที่ ด้วยการนำเสนอค่าความสามารถในการทำกำไรของรูปแบบการจัดสรรพื้นที่ชั้นวางและนโยบายสินค้าคงคลังที่กำหนด (Profitability of Assignment shelf-space allocator, and inventory policy) หาค่าความแตกต่างระหว่างกำไรขั้นต้น (Gross profit) และค่าใช้จ่ายในระบบสินค้าคงคลัง (Inventory cost) ในการกำหนดตัวแบบการจัดสรรพื้นที่ชั้นวางและการ จัดการสินค้าคงคลังภายในร้านค้าปลีกเพื่อให้เกิดค่า PA สูงที่สุดพิจารณาจากสินค้า 2 ประเภท ได้แก่ ประเภท A คือสินค้า ที่รูปแบบการจัดสรรพื้นที่ชั้นวางมีผลต่อยอดขายสินค้านั้น และประเภท B คือสินค้าที่รูปแบบการจัดสรรพื้นที่ชั้นวางไม่มีผล ต่อยอดขายสินค้านั้น ทั้งนี้นโยบายที่ใช้ในการจัดการสินค้าคงคลังคือนโยบายระบบปริมาณการสั่งซื้อตายตัว (Lot size system) งานวิจัยนี้ได้ประยุกต์ใช้ตัวแบบการจัดสรรพื้นที่ชั้นวางและการจัดการสินค้าคงคลังภายในร้านค้าสวัสดิการ ซึ่งเป็นร้านค้าปลีกตัวอย่าง หมวดสินค้าตัวอย่าง ได้แก่ หมวดสินค้าผงซักฟอกขนาดบรรจุ 200 กรัม มีทั้งสิ้น 4 ตรา โดยเก็บข้อมูลภายในร้านค้าปลีก และใช่วิธีการทางสถิติในภารประมาณพารามีเตอร์ที่สำคัญ 3 ค่า ได้แก่ ความยืดหยุ่นทางตรงของพื้นที่ชั้นวาง (Direct shelf-space elasticity) ความยืดหยุ่นตามขวางของพื้นที่ชั้นวาง (Cross shelf-space elasticity) และ ค่าเฉลี่ยยอดขายสินค้า (Average sale volume) จากนั้นได้หาจุดเหมาะสมด้วยวิธีการแทนค่าทุกทางเลือกที่เป็นไปได้ (Complete enumeration method) เพื่อหาทางเลือกที่ทำให้เกิดค่า PA สูงสุด โดยจุดเหมาะสมประกอบไปด้วยพื้นที่ชั้นวาง ที่จัดสรรให้ตามความกว้าง (Facing) แสะปริมาณการสั่งซื้อตายตัว (Lot size) สำหรับสินค้าแต่ละชนิด ผลการใช้ตัวแบบ พบว่าร้านค้าปลีกสามารถทำให้กำไรเพิ่มขึ้นโดยการใช้รูปแบบการจัดสรรพื้นที่ชั้นวางและนโยบายสินค้าที่กำหนดได้ ประมาณ 6% | - |
dc.description.abstractalternative | This research addresses a development of a shelf-space allocation and inventory model for goods in a retail store. The model is considered under space limitation. To determine an optimized policy, the profitability of the assignment shelf-space allocation and inventory policy (PA) is maximized. A PA is a difference between a gross profit and an inventory cost. The proposed model is applied for two types of goods, type A and type B. Type A means goods that its sale volume effected by changing space allocation policy. Type B means goods that changing a space allocation policy has no effect on its sales volume. The lot size system as the inventory management policy is employed for both types of goods. The proposed PA model is applied to the illustrative retail store. The target samples are four brands of 200-gram detergent product. Three key parameters in the model are direct shelf-space elasticity, cross shelf-space elasticity and average sale volume of samples. These parameters are estimated by the statistical method. The optimized policies for shelf-space allocation and inventory management can be obtained by a complete enumeration method. This retail store should improve profit by 6 °/a, if change the shelf-space allocation and inventory policy as suggested by the model. | - |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | การค้าปลีก | en_US |
dc.subject | สินค้าคงคลัง | en_US |
dc.subject | ร้านค้าปลีก | en_US |
dc.title | การจัดสรรพื้นที่ชั้นวางและการจัดการสินค้าคงคลังภายในร้านค้าปลีก | en_US |
dc.title.alternative | A shelf-space allocation and inventory management model for retail store | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | วิศวกรรมอุตสาหการ | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.advisor | Rein.B@Chula.ac.th | - |
dc.email.advisor | Guntalee@Acc.chula.ac.th | - |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Somchan_vu_front_p.pdf | 957.7 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Somchan_vu_ch1_p.pdf | 834.41 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Somchan_vu_ch2_p.pdf | 2.06 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Somchan_vu_ch3_p.pdf | 1.55 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Somchan_vu_ch4_p.pdf | 1.89 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Somchan_vu_ch5_p.pdf | 827.11 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Somchan_vu_ch6_p.pdf | 927.92 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Somchan_vu_back_p.pdf | 1.68 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.