Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/70881
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรุ่งเพ็ชร เจริญวิสุทธิวงศ์-
dc.contributor.advisorวิโรจน์ ชดช้อย-
dc.contributor.authorกัลยาณี จิตมหาวงศ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2020-11-23T03:41:29Z-
dc.date.available2020-11-23T03:41:29Z-
dc.date.issued2539-
dc.identifier.isbn9746324942-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/70881-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ภ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539-
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาผลทางเศรษฐศาสตร์คลินิกของการประเมินการใช้ยาต้านจุลชีพกลุ่มเซฟาโลสปอรินส์ รุ่นที่ 3 โดยการวิเคราะห์ต้นทุน-ประสิทธิผล และหามูลค่าที่ประหยัดได้ รูปแบบการวิจัยเป็นแบบกึ่งทดลอง ทำการวัดสองครั้ง โดยเก็บข้อมูลจากผู้ป่วยทั้งหมดที่เข้ารับการรักษาตัวในหอผู้ป่วยศัลยกรรมทางเดินปัสสาวะ โรงพยาบาลราชวิถี ในช่วงเวลาตั้งแต่ 1 สิงหาคม 2537 ถึง 28 กุมภาพันธ์ 2538 และแบ่งเป็น 2 ช่วง คือ “ช่วงก่อนประเมินการใช้ยา” ตั้งแต่วันที่ 1 สิงหาคม ถึง 15 พฤศจิกายน 2537 มีจำนวนผู้ป่วย 226 ราย เป็นผู้ป่วยที่มีการใช้ยาด้านจุลชีพกลุ่มเซฟาโลสปอรินส์ รุ่นที่ 3 จำนวน 70 ราย (ร้อยละ 30.97) และ“ช่วงหลังประเมินการใช้ยา” ตั้งแต่วันที่ 16 พฤศจิกายน 2537 ถึง 28 กุมภาพันธ์ 2538 มีจำนวนผู้ป่วย 208 ราย เป็นผู้ป่วยที่มีการใช้ยาต้านจุลชีพกลุ่มเซฟาโลสปอรินส์ รุ่นที่ 3 จำนวน 24 ราย (ร้อยละ 11.54) ผลการศึกษาพบว่าในช่วงค่อนประเมินการใช้ยา จำนวนครั้งของการใช้ยาต้านจุลชีพกลุ่มเซฟาโลสปอรินส์ รุ่นที่ 3 อย่างเหมาะสมและอย่างไม่เหมาะสม คิดเป็นร้อยละ 25.32 และ 74.68 ตามลำดับ มีการใช้ยาโดยไม่จำเป็นคิดเป็นร้อยละ 54.43 (43 ครั้ง) ในช่วงหลังประเมินการใช้ยา จำนวนครั้งของการใช้ยาต้านจุลชีพกลุ่มเซฟาโลสปอรินส์ รุ่นที่ 3 อย่างเหมาะสมเพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 62.50 จำนวนครั้งของการใช้ยาต้านจุลชีพกลุ่มเซฟาโลสปอรินส์ รุ่นที่ 3 อย่างไม่เหมาะสมลดลงเป็นร้อยละ 37.50 มีการใช้ยาโดยไม่จำเป็นคิดเป็นร้อยละ 37.50 (9 ครั้ง) แต่อย่างไรก็ตาม การใช้ยาโดยไม่จำเป็นยังคงปัญหาที่สำคัญ โดยเฉพาะอย่างยิ่งตัวยา Ceftriaxone ผลการวิเคราะห์ต้นทุน-ประสิทธิผล เปรียบเทียบระหว่างช่วงก่อนและช่วงหลังประเมินการใช้ยา พบว่า มีค่าเท่ากับ 2,952.27 และ 2,508.18 บาทต่อร้อยละของจำนวนผู้ป่วยที่ใช้ยาเหมาะสม ตามลำดับ แสดงว่าการประเมินการใช้ยาใช้ต้นทุนที่ตํ่ากว่า เมื่อประสิทธิผลเท่ากัน มูลค่าที่ประหยัดได้จากการประเมินการใช้ยา ในการวิจัยนี้ มีค่าเท่ากับ 1,519.10 บาทต่อผู้ป่วย 1 ราย หรือเท่ากับ 343,316.60 บาทต่อจำนวนผู้ป่วย 226 รายสรุปได้ว่าการประเมินการใช้ยาท่าให้มีการใช้ยาอย่างเหมาะสมเพิ่มขึ้น การใช้ยาอย่างไม่เหมาะสมและการใช้ยาอย่างไม่จำเป็นลดลง นอกจากนี้การประเมินการใช้ยายังใช้ด้นทุนตํ่า ให้ประสิทธิผลสูง จึงเป็นบริการที่น่าจะจัดให้มีขึ้นในโรงพยาบาล-
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to study the clinical economic impact of drug use evaluation (DUE) of the third generation Cephalosporins using cost-effectiveness analysis and cost saving methods. It was the quasi-experimental design with the pre-test and post-test measures. The study was conducted at the Urological Ward of Rajavithi Hospital during August 1, 1994 till February 28, 1995. All of the patients during the study period were included in the research. The pre-test period or before the implementation of the DUE, from August 1,1994 to November 15, 1994, included 226 patients with 70 cased (30.97%) using the third generation Cephalosporins. Twenty-four out of 208 patients, accounted for 11.54%, were prescribed the third generation Cephalosporins during the post-test period or after the DUE was implemented, covering the period from November 16,1994 till February 28, 1995. The study showed that while the appropriate use of drugs was increased from 25.32% during the pre-test period to 62.50% (9 cases) of those with the inappropriate use of drugs, the unnecessary use of frugs still presented as the major problem of the inappropriate use of the third generation Cephalosporins, especially Ceftriaxone. The cost-effectiveness analysis compared 2,952.27 baht per percent of the appropriate use for the pre-test period with 2,508.18 baht for the post-test period. The result implied the lower total costs of the drug use evaluation program for the same outcome. The study also found 1,519.10 baht per patient or 343,316.60 baht of cost saving for 226 patients. It was concluded that the drug use evaluation of the third generation Cephalosporins was a suggested program for the hospital since it resulted in the increase in the appropriate use and the decrease in the inappropriate use and the unnecessary use of drugs.-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subjectเซฟาโลสปอรินส์-
dc.subjectสารต้านจุลชีพ-
dc.subjectCephalosporins-
dc.titleผลกระทบทางเศรษฐศาสตร์คลินิกของการประเมินการใช้ยาต้านจุลชีพกลุ่มเซฟาโลสปอรินส์ รุ่นที่ 3 สำหรบผู้ป่วยศัลยกรรมทางเดินปัสสาวะ ที่โรงพยาบาลราชวิถี-
dc.title.alternativeClinical economic impact of drug use evaluation of third generation cephalosporins for patients in urinary tract surgery at Rajavithi Hospital-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameเภสัชศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineเภสัชกรรม-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Kalayanee_ji_front_p.pdf1 MBAdobe PDFView/Open
Kalayanee_ji_ch1_p.pdf915.07 kBAdobe PDFView/Open
Kalayanee_ji_ch2_p.pdf1.66 MBAdobe PDFView/Open
Kalayanee_ji_ch3_p.pdf1.87 MBAdobe PDFView/Open
Kalayanee_ji_ch4_p.pdf2.23 MBAdobe PDFView/Open
Kalayanee_ji_ch5_p.pdf956.17 kBAdobe PDFView/Open
Kalayanee_ji_back_p.pdf2.19 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.