Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/70915
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจินตนา ยูนิพันธุ์-
dc.contributor.authorนพพรพงศ์ ว่องวิกย์การ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2020-11-23T08:59:41Z-
dc.date.available2020-11-23T08:59:41Z-
dc.date.issued2539-
dc.identifier.isbn9746343882-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/70915-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับความพึงพอใจในงาน ของพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลทั่วไป โรงพยาบาลชุมชน สังกัดกระทรวงสาธารณสุข ภาคเหนือ 2) หาความสัมพันธ์ระหว่างการใช้อำนาจการบริหารของหัวหน้าหอผู้ป่วย อำนาจการประกอบวิชาชีพ กับความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพ และ 3)ศึกษาตัวแปรที่สามารถร่วมกันทำนายความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพ ในโรงพยาบาลทั่วไป และโรงพยาบาลชุมชน กลุ่มตัวอย่างเป็นพยาบาลวิชาชีพ จำนวน 700 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามการใช้อำนาจการบริหารของหัวหน้าหอผู้ป่วย และการใช้อำนาจการประกอบวิชาชีพของพยาบาล ที่สร้างขึ้นโดยผู้วิจัย และแบบวัดความพึงพอใจในงาน ผลการวิจัยที่สำคัญ สรุปได้ดังนี้ 1. ความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพ อยู่ในระดับปานกลาง ความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลทั่วไป สูงกว่าของพยาบาลโรงพยาบาลชุมชน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. กลุ่มพยากรณ์ที่สามารถร่วมกันพยากรณความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลทั่วไป อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 คือ การใช้อำนาจการบริหารของหัวหน้าหอผู้ป่วยด้านอำนาจการให้รางวัล อำนาจความเชี่ยวชาญ อำนาจอ้างอิง อำนาจโดยชอบธรรม อำนาจการบังคับ และอำนาจในการประกอบวิชาชีพด้านอำนาจการปกป้องช่วยเหลือ อำนาจการบูรณาการ อำนาจการมีส่วนร่วม อำนาจการเปลี่ยนแปลง การแก้ไขปัญหา อายุและประสบการณ์การทำงาน มีสัมประสิทธิ์การพยากรณ์ร้อยละ 73.33 (R2 = .7333) 3. กลุ่มพยากรณ์ที่มีความสามารถร่วมกันพยากรณ์ ความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลชุมชน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 คือ การใช้อำนาจการบริหารของหัวหน้าหอผู้ป่วยด้านอำนาจการให้รางวัล อำนาจโดยชอบธรรม อำนาจความเชี่ยวชาญ อำนาจอ้างอิง อำนาจการบังคับ และ อำนาจ ในการประกอบวิชาชีพด้านอำนาจการบูรณาการ อำนาจการเปลี่ยนแปลง อำนาจการสร้างภาวะที่ดีขึ้น การแก้ไขปัญหา และ อายุ มีสัมประสิทธิ์การพยากรณ์ ร้อยละ 69.49 (R2 - .6949)-
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were 1) to study job satisfaction of professional nurses in general and community hospitals under the jurisdiction of the Ministry of Public Health in northern region, 2) to find the relationships between administrative power used by head nurses, nursing practice power and job satisfaction as reported by professional muses and 3) to search for variables that would be able to predict job satisfaction of muses. Research subjects consisted of 700 professional nurses. Data collected by administrative power and nursing practice power questionnaires which were developed by the researcher, and the index of work satisfaction questionnaire. Major findings were as the followings : 1. Job satisfaction of professional nurses were at the moderate level. Job satisfaction of professional nurses in general hospitals was significantly higher than that of the nurses in community hospitals, at the .05 level. 2. Factors significantly predicted job satisfaction of professional nurses in general hospitals were power used by head nurses in the aspect of reward power, expert power, reference power , legitimate power, coercive power and nursing practice power in the aspect of advocacy power, integrative power, participative power, transformative power, problem solving, age and working experience. The total variance was 73.33 percent (R2 = .7333) 3. Factors significantly predic job satisfaction of professional nurse in general hospitals were power used by head nurses in the aspect of expert power, reward power, reference power, legitimate power, coercive power and nursing practice power in the aspect of advocacy power, integrative power, participative power, problem solving, age and working experience. The total variance was 73.33 percent (R2 = .7333) 4. Factors significantly predicted job satisfaction of professional nurses in community hospital were power used by head nurses in the aspect of reward power , legitimate power, expert power, coercive power , reference power and nursing practice power in the aspect of integrative power, transformative power, healing power, and age. The total variance was 69.49 percent (R2= .6949).-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectพยาบาล -- ความพอใจในการทำงานen_US
dc.subjectการบริหารงานบุคคลen_US
dc.subjectพยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วยen_US
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างการใช้อำนาจการบริหารของหัวหน้าหอผู้ป่วย อำนาจการประกอบวิชาชีพกับความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลทั่วไปโรงพยาบาลชุมชน สังกัดกระทรวงสาธารณสุข ภาคเหนือen_US
dc.title.alternativeRelationships between administrative power used by head nurses nursing practice power and job satisfaction of professional nurses general and community hospitals under the jurisdiction of the Ministry of Public Health, Northern regionen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineการบริหารการพยาบาลen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorDeannurs@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Noppornpong_wo_front_p.pdf1.07 MBAdobe PDFView/Open
Noppornpong_wo_ch1_p.pdf1.38 MBAdobe PDFView/Open
Noppornpong_wo_ch2_p.pdf2.95 MBAdobe PDFView/Open
Noppornpong_wo_ch3_p.pdf1 MBAdobe PDFView/Open
Noppornpong_wo_ch4_p.pdf1.9 MBAdobe PDFView/Open
Noppornpong_wo_ch5_p.pdf1.39 MBAdobe PDFView/Open
Noppornpong_wo_back_p.pdf1.82 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.