Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/70967
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพิมลรัตน์ ไทยธรรมนนท์-
dc.contributor.authorปริชวัน จันทร์ศิริ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2020-11-24T08:52:42Z-
dc.date.available2020-11-24T08:52:42Z-
dc.date.issued2539-
dc.identifier.isbn9746367838-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/70967-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539en_US
dc.description.abstractวัตถุประสงค์. เพื่อศึกษาผลของการใช้ยา theophylline ขนาดตํ่าฉีดเข้าทางหลอดเลือดดำ ในการรักษาภาวะหยุดหายใจที่ไม่ทราบสาเหตุในทารกเกิดก่อนกำหนด รูปนบบการศึกษา. การวิจัยเซิงทดลอง สถานที่. หน่วยบริบาลทารกแรกเกิด โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ ประชากร. ทารกเกิดก่อนกำหนด 8 ราย (น้ำหนักแรกเกิด ระหว่าง 900-1,570 กรัม ; อายุครรภ์ระหว่าง 28-30 สัปดาห์) ซึ่งได้รับการวินิจฉัยว่ามีภาวะหยุดหายใจที่ไม่ทราบสาเหตุ โดยภาวะหยุดหายใจนั้นมากกว่าหรือเท่ากับ 4 ครั้งใน 3 ชั่วโมงติดกันก่อนทำการรักษา วิธีวิจัย. ทารกจะได้รับการฉีดยา theophylline ทางหลอดเลือดดำ ด้วยขนาดเริ่มต้น 2.5 มก./กก. ติดตามด้วย theophylline 1 มก./กก. ทางหลอดเลือดดำ ทุก 8 ชั่วโมงเพี่อคงระดับยา โดยทารกจะได้รับการบันทึกข้อมูลเกี่ยว กับ อัตราการหายใจ, อัตราการเต้นของหัวใจ, ค่าความอิ่มตัวของออกซิเจนในเลือด ตลอดเวลาด้วยเครื่อง System VI /VIS™ Infant Monitor (Airshield Vicker Medical) โดยบันทึกจนครบ 72 ชั่วโมงหลังเริ่มการรักษา ข้อมูลการวัด. จำนวนครั้งของการหยุดหายใจ, ระดับยา theophylline ในเลือดที่ 24,48 และ 72 ชั่วโมง โดยเก็บตัวอย่างเลือดก่อนให้ยาครั้งต่อไป,ผลข้างเคียงของยา theophylline (อัตราการเต้นของหัวใจมากกว่า 160 ครั้งต่อ นาที, ระดับนาตาลในปัสสาวะมากกว่า 1+,อาเจียน, jitteriness, ชัก) ผลการทดลอง. จำนวนครั้งของการหยุดหายใจเริ่มลดลงหลังให้การรักษา 24 ชั่วโมงในทารก 6 คน และจำนวนครั้งของการหยุดหายใจลดลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ หลังให้การรักษา 48 ชั่วโมง (P=0.049) แต่พบว่าความรุนแรงของภาวะการหยุดหายใจลดลงในทารกทุกคน แม้ว่าอัตราการหยุดหายใจในทารก 2 คนไม่ลดลงหลังให้การรักษาแล้ว 24 ชม. แต่พบว่าความรุนแรงของการหยุดหายใจน้อยลงในทารกทุกคน ซึ่งระดับยา theophylline ในเลือดของทารกทั้งสอง ตํ่ากว่า 6.5 ไมโครกรัม/มล.(4.57,6.48) และตํ่ากว่าของทารกคนอื่น ในการทดลองนี้ระดับยา theophylline ในเลือดสูงขึ้นที่ละน้อยตามเวลาที่ผ่านไปแต่ไม่ถึงระดับคงที่เมื่อเวลา 72 ชั่วโมง หลังจากเริ่มให้ยาค่าเฉลี่ยและค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานของระดับยา theophylline ในเลือดที่ 24, 48 และ 72 ชั่วโมง เท่ากับ 7.66 (2.00),10.68 (1.92),11.81 (1.54) ไมโครกรัม/มล.ตามลำดับ ซึ่งตลอดการศึกษาโดยใช้ยา theophylline ไม่พบผลข้างเคียงของยาเลย สรุปผลการทดลอง. การใช้ยา theophylline ขนาดตํ่าฉีดเข้าทางหลอดเลือดดำ เหมาะที่จะใช้ในการรักษาภาวะหยุดหายใจโดยไม่ทราบสาเหตุในทารกเกิดก่อนกำหนด เนื่องจากไต้ผลเป็นที่น่าพอใจและไม่พบว่ามีผลข้างเคียง-
dc.description.abstractalternativeOBJECTIVE. To study the effectiveness of low dose intravenous theophylline treatment in premature infants with idiopathic apnea of prematurity. DESIGN. Experimental study. SETTING. Neonatal unit at ChulaIongkorn hospital, Bangkok, Thailand. PATIENTS. 8 premature infants (birth weights range from 900-1570 gm. ; gestational ages range from 28-30 wk.) with the diagnosis of apnea of prematurity who had the frequency of apnea more than or equal to 4 times in 3 hrs. prior to study period. INTERVENTION. All infants received loading dose of theophylline 2.5 mg/kg intravenously following with maintenance dose of theophylline 1 mg/kg every 8 hrs. Respiratory rate, heart rate and peripheral oxygen saturation were continously monitoring by using System VI/VIS™ Infant Monitoring (Airshield Vickers Medical) for 72 hrs. after initial treatment. MAIN OUTCOME MEASURES. Apneic rate, theophylline level at 24,48 and 72hrs. before the next dose of theophylline, side effect of theophylline (tachycardia, hyperglycemia, vomiting, jitteriness, convulsion) RESULT. Rate of apneic attack begins to subside within 24 hrs. after treatment in 6 infants. After 48 hrs., the apneic rate is decreased significantly (p=0.049). Although the apneic rate does not decreased in 2 infants at 24 hrs. but the severity of apnea is decreased. It is found that serum theophylline levels of these 2 infants are less than 6.5 mcg/mL (4.57,6.48 mcg/mL) which are lower than the others. Serum theophylline level is gradually increased but does not reach the steady state by 72 hrs. The mean level and standard deviation at 24,48 and 72 hrs. Are 7.66 (2.00), 10.68 (1.92) and 11.81 (1.54) mcg/mL respectively. There is no side effect of theophylline noted during the study. CONCLUSION. Low dose intravenous theophylline treatment seems to be suitable for the management of idiopathic apnea of prematurity. It gives a satisfactory result without side effect.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectภาวะหยุดหายใจขณะนอนหลับ -- การรักษา-
dc.subjectทารกคลอดก่อนกำหนด -- โรค-
dc.subjectSleep apnea syndromes -- Treatment-
dc.subjectPremature infants -- Diseases-
dc.titleการรักษาภาวะหยุดหายใจที่ไม่ทราบสาเหตุในทารกเกิดก่อนกำหนด ด้วยยา theophylline ขนาดต่ำen_US
dc.title.alternativeTreatment of idiopathic apnea of prematurity with low dose theophyllineen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineกุมารเวชศาสตร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorFmedpth@Md2.md.chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Parichawan_ch_front_p.pdf928.08 kBAdobe PDFView/Open
Parichawan_ch_ch1_p.pdf800.14 kBAdobe PDFView/Open
Parichawan_ch_ch2_p.pdf681.31 kBAdobe PDFView/Open
Parichawan_ch_ch3_p.pdf773.71 kBAdobe PDFView/Open
Parichawan_ch_ch4_p.pdf795.39 kBAdobe PDFView/Open
Parichawan_ch_ch5_p.pdf859.61 kBAdobe PDFView/Open
Parichawan_ch_ch6_p.pdf629.15 kBAdobe PDFView/Open
Parichawan_ch_back_p.pdf735.84 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.