Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/71086
Title: | คณะราษฎรกับกระบวนการสร้างประชาธิปไตย |
Other Titles: | People's Party and democratization |
Authors: | อาทร อยู่สมบูรณ์ |
Advisors: | พรศักดิ์ ผ่องแผ้ว |
Other author: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย |
Advisor's Email: | ไม่มีข้อมูล |
Subjects: | คณะราษฎร์ ประชาธิปไตย การมีส่วนร่วมทางการเมือง กฎหมายรัฐธรรมนูญ ไทย -- ประวัติศาสตร์ -- กรุงรัตนโกสินทร์, 2475 ไทย -- ประวัติศาสตร์ -- กรุงรัตนโกสินทร์ -- รัชกาลที่ 7, 2468-2477 ไทย -- การเมืองและการปกครอง -- กรุงรัตนโกสินทร์, 2475-2499 Democracy Political participation Constitutional law |
Issue Date: | 2541 |
Publisher: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
Abstract: | ในวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ 2475 ได้มีบุคคลคณะหนึ่งที่เรียกตัวเองว่า “ คณะราษฎร ” ได้ทำการเปลี่ยนแปลงการปกครองของประเทศไทย จากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ มาเป็นการปกครองที่มีพระมหากษัตริย์อยู่ภายใต้กฎหมาย หรือเรียกว่า กฎหมายรัฐธรรมนูญ ซึ่งคณะราษฎร เรียกว่าการปกครองในระบบประชาธิปไตย แต่นับจากวันที่คณะราษฎรได้ทำการเปลี่ยนแปลงการปกครองมา จนถึงวันที่ 8 พฤศจิกายน 2490 เป็นวันที่ คณะรัฐประหารอันประกอบไปด้วยกลุ่มทหารเข้ามาครอบครองอำนาจแทน จึงเป็นระยะกว่า 15 ปี ที่คณะราษฎรได้พยายามที่จะสถาปนา ระบบประชาธิปไตยให้เกิดขึ้นเป็นเป็นรูปธรรมตามอุดมการณ์ของคณะราษฎรที่ได้ตั้งใจไว้แต่คณะราษฎรต้องประสบกับปัญหานานาประการ ต่อกระบวนการสร้างประชาธิปไตย และการวางรากฐานประชาธิปไตยในหลาย ๆ ด้านจนนำไปสู่ความล้มเหลวในที่สุด เพราะประชาชนส่วนใหญ่ยังไม่ได้มีโอกาสเข้ามามีส่วนร่วมในการปกครองเช่นว่านั้น แต่อำนาจในการปกครองยังคงวนเวียนกันภายในกลุ่มคณะราษฎร และมีการต่อสู่แย่งชิงกันเองจนแทบจะไม่ได้มีการวางรากฐานในการปกครองระบบประชาธิปไตยอย่างจริงจัง แม้ว่าจะได้มีการร่างรัฐธรรมบุญขึ้นมาหลายฉบับ ซึ่งแต่ละฉบับก็ยังไม่ได้เป็นเครื่องยืนยันในความเป็นประชาธิปไตยได้ เพราะยังขาดเนื้อหาสาระในความเป็นประชาธิปไตย ตลอดจนวิถีชีวิต และวัฒนธรรมทางการเมืองของคนไทยในเวลานั้น ยังไม่สอดคล้องกับหลักการปกครองในระบอบประชาธิปไตย จึงเป็นโอกาสที่คณะราษฎรได้ครอบครองอำนาจเป็นระยะเวลาอันยาวนาน และยังไม่ได้ส่งมอบอำนาจที่แท้จริงให้กับประชาชน จึงทำให้ช่วงดังกล่าวประชาธิปไตยขาดโอกาสที่จะพัฒนาการไปในทิศทางที่ควรจะเป็น. |
Other Abstract: | On June 24, 1932 a group called themselves as the People’s Party demoted the political system of absolute monarchy and created the constitutional monarchy, the process of which was seen by the People’s Party as the introduction in to Thailand the democracy. From that date to November 8, 1947, the date that military group staged coup d’ etat , the People’s Party tried to effectuate democratic political system in the country. Yet they faced innumerable problems in their attempt to lay the foundation of democracy. It become a failure because the people were not able to participate leaving the attains of government within the hands of the People’s Party. In fighting hardly permitted them to democratized. Even with a number of constitution that did not prove that Thailand had democracy. Since the contents of them and culture factors were not compatible with democratic process. During the long period the People’s Party failed to land down power to the people, thus no democratic development. |
Description: | วิทยานิพนธ์ (ร.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2541 |
Degree Name: | รัฐศาสตรมหาบัณฑิต |
Degree Level: | ปริญญาโท |
Degree Discipline: | การปกครอง |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/71086 |
ISBN: | 9746394045 |
Type: | Thesis |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Arthorn_us_front_p.pdf | หน้าปก และบทคัดย่อ | 960.26 kB | Adobe PDF | View/Open |
Arthorn_us_ch1_p.pdf | บทที่ 1 | 824.32 kB | Adobe PDF | View/Open |
Arthorn_us_ch2_p.pdf | บทที่ 2 | 1.75 MB | Adobe PDF | View/Open |
Arthorn_us_ch3_p.pdf | บทที่ 3 | 3.32 MB | Adobe PDF | View/Open |
Arthorn_us_ch4_p.pdf | บทที่ 4 | 1.27 MB | Adobe PDF | View/Open |
Arthorn_us_ch5_p.pdf | บทที่ 5 | 1.23 MB | Adobe PDF | View/Open |
Arthorn_us_back_p.pdf | บรรณานุกรม และภาคผนวก | 1.63 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.