Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/71163
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจิรกานต์ เมืองนาโพธิ์-
dc.contributor.advisorวนิดา จันทรเทพเทวัญ-
dc.contributor.authorลลิตา อัตนโถ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2020-12-01T02:58:31Z-
dc.date.available2020-12-01T02:58:31Z-
dc.date.issued2543-
dc.identifier.isbn9743460934-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/71163-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543-
dc.description.abstractการศึกษาการใช้เยื่อแผ่นโพลิไวนิลแอลกอฮอล์ซึ่งทำปฏิกิริยาโครงร่างตาข่ายกับ กรดกลูตาริก เพื่อแยกน้ำออกจากสารสกัดหยาบจากใบขี้เหล็กด้วยกระบวนการเพอร์เวเพอเรชัน โดยในขั้นตอนแรกเป็นการศึกษาการดูดซับสารด้วยเยื่อแผ่น สังเคราะห์ที่เตรียมได้ พบว่าเยื่อแผ่นมีความสามารถในการดูดซับน้ำและสารสกัดหยาบได้ดีกว่าสารละลาย เอทานอล การสกัดสารสกัดหยาบจากใบขี้เหล็กด้วยสารละลายเอทานอลร้อยละ 15 โดยปริมาตรในถังกวน พบว่ามีปริมาณบาราคอลคิดเป็นร้อยละ 1.69-1.95 ของใบขี้เหล็กแห้งและสารบาราคอลเกิดการสลายตัวมากขึ้น เมื่ออุณหภูมิเพิ่มขึ้น การศึกษาการเพิ่มความเข้มข้นของสารสกัดหยาบจากใบขี้เหล็ก จากการแยกสารละลายเอทานอลออกโดยกระบวนการระเหยด้วยเครองโรตารีอีเวเพอเรเตอร์ ที่ความดัน -25 นิ้วปรอท อุณหภูมิ 60 องศาเซลเซียส พบว่าสารบาราคอลในสารสกัดหยาบจากใบขี้เหล็กมีความเข้มข้น เพิ่มขึ้น 37.78 เปอร์เซ็นต์ เมื่อนำสารสกัดหยาบจากใบขี้เหล็กที่ผ่านการแยกเอทานอลออกมาทำให้เข้มข้นขึ้นโดยการแยกน้ำออกด้วยกระบวนการเพอร์เวเพอเรชัน ในโมดูลแบบแผ่นเรียบและกรอบทำการศึกษาที่ ความดันเพอร์มิเอต 20,30 และ 40 มิลลิบาร์, อุณหภูมิของสายป้อน 30,35 และ 40 องศาเซลเซียส, ความเร็วของสายป้อน 5,80 และ 130 ลิตรต่อชั่วโมง สายป้อนมีการหมุน เวียนกลับ เป็น เวลา 1,4 และ 8 ชั่วโมง พบว่าเพอร์มิเอชันฟลักช์ของน้ำมีค่าาเพิ่มขึ้น เมื่อเพิ่มอุณหภูมิสายป้อนและลดความตันเพอร์มิเอต สารบาราคอลไม่ส ามารถซึมผ่านเยื่อแผ่น ได้เนื่องจากมิโมเลกุลขนาดใหญ่และมีโครงสร้างซับซ้อน ภาวะการดำเนิน งานที่เหมาะสมคือที่ ความดัน เพอร์มิเอต 20 มิลลิบาร์, อุณหภูมิสายป้อน 40 องศาเซลเซียส, ความเร็วของสายป้อน 5 ลิตรต่อชั่วโมง, เวลาในการดำเนินงาน 4 ชั่วโมง ทำให้สารบาราคอลในสารสกัดหยาบจากใบขี้เหล็กมีความเข้มข้น เพิ่มขึ้น 44.51 เปอร์เซ็นต์-
dc.description.abstractalternativeIn the study of using crosslinked polyvinyl alcohol with glutaric acid membrane to remove water from crude extract from Cassia siamea by pervaporation process, firstly the systhesized membranes were prepared and tested with sorption process. It was found that sorption ability of water and crude extract in membrane were better than ethanol. The crude extraction with 15 %(v/v) ethanol solution in stirred tank had barakol content of 1.69-1.95 % (weight/dried leaves weight) and increasing deactivation of barakol was found with increased temperature. The removal of ethanol from crude extract from Cassia siamea by evaporation process with rotary evaporator were studied at pressure -25 inHg. and temperature 60 ℃. It was found that barakol in crude extract was concentrated 37.78 %. The removal of water from crude extract from evaporation process by pervaporation process in plate and frame module were performed at various permeate pressure (20,30,40 mbar.), temperature of feed solution ( 30 ,35, 40 ๐c ), feed solution flow rate (5,80,130 lit/hr.) and recycle time (1,4,8 hr.). It was found that water permeation flux was increased with increasing feed temperature and with lowering permeate pressure. Barakol can not permeate through the membranes because of its molecular size and complex structure. The suitable condition in this study is at a permeate pressure 20 mbar, feed temperature 40 ℃. feed flowrate 5 lit/hr. and recycle time 4 hr. The barakol in crude extract was concentrated 44.51%.-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subjectขี้เหล็ก (พืช)-
dc.subjectเพอร์เวเพอเรชัน-
dc.subjectบาราคอล-
dc.titleการประยุกต์ใช้กระบวนการเพอร์เวเพอเรชันเพื่อการแยกน้ำ ออกจากสารสกัดหยาบจากใบขี้เหล็ก-
dc.title.alternativeApplication of the pervaporation process to removal of water from crude extract from cassia siamea-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineวิศวกรรมเคมี-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Lalita_at_front_p.pdfหน้าปก สารบัญ และบทคัดย่อ883.11 kBAdobe PDFView/Open
Lalita_at_ch1_p.pdfบทที่ 1632.33 kBAdobe PDFView/Open
Lalita_at_ch2_p.pdfบทที่ 21.24 MBAdobe PDFView/Open
Lalita_at_ch3_p.pdfบทที่ 31.06 MBAdobe PDFView/Open
Lalita_at_ch4_p.pdfบทที่ 41.08 MBAdobe PDFView/Open
Lalita_at_ch5_p.pdfบทที่ 52.25 MBAdobe PDFView/Open
Lalita_at_back_p.pdfบรรณานุกรมและภาคผนวก1.43 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.