Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/71189
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอนงค์นาฏ เถกิงวิทย์-
dc.contributor.advisorสุวรรณา สถาอานันท์-
dc.contributor.authorศศิธร ลิ้มอภิบาล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2020-12-02T02:44:21Z-
dc.date.available2020-12-02T02:44:21Z-
dc.date.issued2540-
dc.identifier.issn9746392174-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/71189-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (อ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2540en_US
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีจุดประสงค์ในการศึกษาและเปรียบเทียบกวีนิพนธ์ของพจนา จันทรสันติ กับ กวีนิพนธ์ไฮกุของญี่ปุ่น เพื่ออธิบายอิทธิพลของวรรณกรรมชาติหนึ่งไปสู่อีกชาติหนึ่ง รวมไปถึงการศึกษา บทบาทสำคัญของปรัชญาความคิดทางศาสนาที่มีต่อการสร้างสรรค์บทกวีนิพนธ์ จากการศึกษาและเปรียบเทียบกวีนิพนธ์ดังกล่าวข้างต้น พบว่าพจนาได้รับอิทธิพลจากปรัชญา ความคิดของลัทธิเต๋าและนิกายเซ็นในการสร้างสรรค์บทกวี และการถ่ายทอดประสบการณ์เชิงศาสนาของ กวี โดยพจนามีความสนใจและชื่นชอบไฮกุซึ่งมีรูปแบบที่สั้นกะทัดรัดและเรียบง่าย และเนื้อหาที่แสดงความสัมพันธ์ของกวีกับธรรมชาติ ดังนั้นพจนาจึงพัฒนาสาระสำคัญของไฮกุให้เป็นบทกวีที่มีเอกลักษณ์เฉพาะตัว เพื่อให้เกิดความเหมาะสมและลงตัวตามสภาวะแห่งการสร้างสรรค์ของกวี-
dc.description.abstractalternativeThis thesis aims to study and compare the poetry of Pochana Chandrasanti with Japanese haiku to explain the way that one nation’s literature influences the other. It also focuses on the important role of religious philosophy on their poetic creativity. The result of the study shows that both of them are dominated by the philosophy of Taoism and Zen Buddism when creating and recounting their religious experience through poems. Pochana finds that he is very fond of and interested in haiku which consists of either short and simple form or its profound content expressing the relations between poet and nature. Consequently, he has developed the essence of haiku for the poem with specific characteristic to match his conditions of creativity.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectพจนา จันทรสันติ -- การวิจารณ์และการตีความหมายen_US
dc.subjectกวีนิพนธ์ไทยen_US
dc.subjectวรรณคดีเปรียบเทียบen_US
dc.subjectไฮกุen_US
dc.subjectกวีนิพนธ์ญี่ปุ่นen_US
dc.subjectThai poetryen_US
dc.subjectLiterature, Comparativeen_US
dc.subjectHaikuen_US
dc.subjectJapanese poetryen_US
dc.titleการศึกษาเปรียบเทียบกวีนิพนธ์ของพจนา จันทรสันติ กับกวีนิพนธ์ไฮกุของญี่ปุ่นen_US
dc.title.alternativeComparative study of Pochana Chandrasanti's poetry and the Japanese haikuen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameอักษรศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวรรณคดีเปรียบเทียบen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorAnongnat.T@Chula.ac.th-
dc.email.advisorSuwanna.Sat@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sasitorn_li_front.pdfหน้าปกและบทคัดย่อ311.16 kBAdobe PDFView/Open
Sasitorn_li_ch0.pdfบทนำ203.03 kBAdobe PDFView/Open
Sasitorn_li_ch1.pdfบทที่ 14.36 MBAdobe PDFView/Open
Sasitorn_li_ch2.pdfบทที่ 21.67 MBAdobe PDFView/Open
Sasitorn_li_ch3.pdfบทที่ 33.35 MBAdobe PDFView/Open
Sasitorn_li_back.pdfบรรณานุกรมและภาคผนวก2.5 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.