Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/71211
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorองอาจ วิพุธศิริ-
dc.contributor.advisorพรชัย สิทธิศรัณย์กุล-
dc.contributor.authorรังษี เจริญวงศ์ระยับ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะแพทยศาสตร์-
dc.date.accessioned2020-12-03T04:49:38Z-
dc.date.available2020-12-03T04:49:38Z-
dc.date.issued2543-
dc.identifier.isbn9741309996-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/71211-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543-
dc.description.abstractการศึกษานี้ เป็นการศึกษาเชิงพรรณนา มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความคิดเห็นของผู้ปฏิบัติงานโรงพยาบาล ในด้านการให้ความสำคัญ และสภาพเป็นจริง ต่อการดำเนินงานของโรงพยาบาลชุมชนและเปรียบเทียบปัจจัยที่มีผลต่อการให้ความสำคัญ และสภาพเป็นจริงของการดำเนินงานโรงพยาบาลชุมชน ใน 5 ด้าน คือ ด้านการบริหารจัดการ ด้านทรัพยากรและการจัดการทรัพยากร ด้านกระบวนการพัฒนาคุณภาพ ด้านการให้บริการ และการรักษามาตรฐานวิชาชีพและสิทธิผู้ป่วย ด้านผลลัพธ์ของการปฏิบัติงานและการประเมินความพึงพอใจ เก็บข้อมูลระหว่างเดือนตุลาคม-ธันวาคม 2543 กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ปฏิบัติงานโรงพยาบาลชุมชนที่สุ่มได้จำนวน 24 แห่ง มีผู้ตอบแบบสอบถามทั้งสิน 758 คน (ร้อยละ85.2) เปรียบเทียบความแตกต่างโดยใช้ One-Way ANOVA, t-test ผลการศึกษาพบว่า ผู้ปฏิบัติงานเป็นเพศชาย : หญิงคิดเป็น 1:8.4 มีอายุเฉลี่ย 32.83 ปีระยะเวลาทำงานเฉลี่ย 7.92 ปี ส่วนใหญ่ตำแหน่งพยาบาลวิชาชีพ (ร้อยละ 79.4) ระดับซี 6-ซี 8 (ร้อยละ 52.6) เมื่อพิจารณาการดำเนินงานรายกิจกรรม ระหว่างการให้ความสำคัญและสภาพเป็นจรึง พบว่า มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p-value <0.001) ทุกกิจกรรม เมื่อวิเคราะห์เชิงลึก พบว่า ผู้ปฏิบัติงานให้ความสำคัญต่อกิจกรรมการดำเนินงานของ โรงพยาบาลชุมชนโดยรวม แตกต่างกันตามขนาดของโรงพยาบาล นอกจากนี้ พบว่าการให้ความสำคัญมีความแตกต่างกันตาม กระบวนการพัฒนาคุณภาพ ในสภาพเป็นจริงโดยรวม มีความแตกต่างกันตามขนาดโรงพยาบาล เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่าแตกต่างกันตาม การบริหารจัดการ ทรัพยากรและการจัดการทรัพยากร การให้บริการและการรักษามาตรฐานวิชาชีพและสิทธิผู้ป่วย กระบวนการพัฒนาคุณภาพการให้ความสำคัญ และสภาพเป็นจริง ไม่มีความแตกต่างกันตามวิชาชีพ ผลการศึกษานี้ นำไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนาประสิทธิภาพการดำเนินการของโรงพยาบาลชุมชน โดยเปิดโอกาสให้ชุมชนมีส่วนร่วม สร้างเสริมขวัญและกำลังใจที่ดีของผู้ปฏิบัติงาน เน้นการพัฒนาคุณภาพทั่วทั้งองศ์กร และค้นหาปัญหาของชุมชน-
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this descriptive study was to determine the importance and present situation by soliciting the personnel's opinion towards activities in Community Hospitals, particularly in five dimensions : management, resource management, service and standard treatment, quality improvement, results of performance and satisfaction evaluation. The study was conducted during October to December, 2000. The sample consisted of 758 respondents working in 24 randomly selected Community Hospitals. One-Way ANOVA and t-test were used for statistical analyses. The results revealed that health personnel were more female than male (8.4 : 1). The mean age was 32.83 years. Average period of work was 7.92 years. Majority of them were working as registered nurse position (79.4%) at position level 6-8 (52.6%). Further analyses found that all items of important and present situation had highly statistically significant difference (p-value <0.001). Overall perception of importance towards specified activities in Community Hospital and dimension of quality improvement were statistically significantly different (p-value <0.05) by hospital size. In terms of present situation, the dimension of management, resource management, service and standard treatment and quality improvement were statistically significantly different (p-value<0.05) by hospital size. Furthermore, the results showed that perceived importance towards specified activities in Community Hospital and present situation were not significantly different by professions of health personnel. These findings indicated that the efficiency of Community Hospital should be improved through increasing community participation and morale of health personnel, approaching TQM and surveying community's problem.-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subjectโรงพยาบาลชุมชน-
dc.subjectบุคลากรทางการแพทย์-
dc.subjectMedical staff, Hospital-
dc.subjectHealth personnel-
dc.subjectHospitals, Community-
dc.titleความคิดเห็นของผู้ปฏิบัติงานโรงพยาบาลต่อการดำเนินงานโรงพยาบาลชุมชน ปี 2543-
dc.title.alternativeOpinion of health personnel towards activities in community hospitals, 2000-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineเวชศาสตร์ชุมชน-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
Appears in Collections:Med - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Rungsee_ch_front_p.pdfหน้าปก สารบัญ และบทคัดย่อ804.75 kBAdobe PDFView/Open
Rungsee_ch_ch1_p.pdfบทที่ 1739.49 kBAdobe PDFView/Open
Rungsee_ch_ch2_p.pdfบทที่ 21.17 MBAdobe PDFView/Open
Rungsee_ch_ch3_p.pdfบทที่ 3728.57 kBAdobe PDFView/Open
Rungsee_ch_ch4_p.pdfบทที่ 41.68 MBAdobe PDFView/Open
Rungsee_ch_ch5_p.pdfบทที่ 51.04 MBAdobe PDFView/Open
Rungsee_ch_back_p.pdfบรรณานุกรมและภาคผนวก901.52 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.