Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/71294
Title: Cumene synthesis from benzene and isopropanol over Beta zeolite
Other Titles: การสังเคราะห์คิวมีนจากเบนซีนและไอโซโพรพานอลบนซีโอไลต์บีตา
Authors: Somchai Panichsarn
Advisors: Suphot Phatanasri
Piyasan Praserthdam
Other author: Chulalongkorn University. Faculty of Engineering
Subjects: Zeolites
Zeolite catalysts
ซีโอไลต์
ตัวเร่งปฏิกิริยาซีโอไลต์
Issue Date: 2000
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: Cumene synthesis from benzene and isopropanol over Beta zeolite is investigated. The prepared catalysts are characterized by XRD, BET, XRF and pyridine adsorption technique on in-situ FTIR. The influences of different reaction parameters such as reaction temperature, space velocity, stability and Si/Al ratios are also studied. The selectivity to cumene is maximum (79.92%) at 200℃ 3000 h' -1 for 40 min on stream. At higher Si/Al ratio, the selectivity to cumene is decreased while diisopropylbenzene is increased. The activity and selectivity of Beta zeolite are compared with other zeolites such as ZSM-5 and Y zeolite. The activity of deactivated Beta zeolite can be restored with the regeneration at 550℃ for 1 h. Furthermore, the faster deactivation is obtained when propylene is used as an alkylating agent.
Other Abstract: การสังเคราะห์คิวมีนจากเบนซีนและไอโซโพรพานอล ได้ทำการศึกษาโดยใช้ซีโอไลต์บีตาเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา และทำการวิเคราะห์คุณลักษณะของซีโอไลด้บีตาที่เตรียมขึ้นด้วยเทคนิค XRD, BET, XRF และ FTIR โดยใช้เทคนิคการดูดซับของไพริดีน นอกจากนี้ยังได้ศึกษาถึงอิทธิพลของตัวแปรต่างๆ ในการทำปฏิกิริยา เช่น คุณหภูมิในการทำปฏิกิริยา ความเร็วเชิงเสปซ ความเสถียรของตัวเร่งปฏิกิริยา และสัดส่วนของชิลิกอนต่ออลูมิเนียม จากการศึกษาพบว่าค่าการเลือกเกิดของคิวมีนจะมีค่าสูงชุด (79.92 %) เมื่อทำปฏิกิริยาที่อุณหภูมิ 200 องศาเซลเซียส ความเร็วเชิงเสปซ 3000 ต่อชั่วโมงเป็นเวลา 40 นาที และพบว่าเมื่อสัดส่วนของซิลิกาต่ออลูมินาสูงขึ้น ค่าการเลือกเกิดของคิวมีนจะลดลงในขณะที่ค่าการเลือกเกิดของไดไอโซโพรพิลเบนซีนสูงขึ้น นอกจากนี้ยังทำการทคลองเปรียบเทียบกับซีโอไลต์ชนิดอื่น เช่น ZSM-5 และ Y ซีโอไลด้อีกด้วย ซีโอไลต์บีตาที่เสื่อมสภาพสามารถนำกลับมาใช้ใหม่ได้เมื่อถูกเผาที่อุณหภูมิ 550 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 1 ชั่วโมง เมื่อใช้โพรไพลีนเป็นตัวเติมหมู่อัลคิลแทนไอโซโพรพานอล พบว่าตัวเร่งปฏิกิริยาจะเสือมสภาพเร็วกว่า
Description: Thesis (M.Eng.)--Chulalongkorn University, 2000
Degree Name: Master of Engineering
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: Chemical Engineering
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/71294
ISBN: 9743460713
Type: Thesis
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Somchai_pa_front_p.pdfหน้าปก สารบัญ และบทคัดย่อ799 kBAdobe PDFView/Open
Somchai_pa_ch1_p.pdfบทที่ 1660.75 kBAdobe PDFView/Open
Somchai_pa_ch2_p.pdfบทที่ 2692.16 kBAdobe PDFView/Open
Somchai_pa_ch3_p.pdfบทที่ 31.45 MBAdobe PDFView/Open
Somchai_pa_ch4_p.pdfบทที่ 4876.85 kBAdobe PDFView/Open
Somchai_pa_ch5_p.pdfบทที่ 52.99 MBAdobe PDFView/Open
Somchai_pa_ch6_p.pdfบทที่ 6597.51 kBAdobe PDFView/Open
Somchai_pa_back_p.pdfบรรณานุกรมและภาคผนวก876.57 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.