Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/7134
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ปิยะชาติ แสงอรุณ | - |
dc.contributor.author | สาวิตรี บุตรเล็ก | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2008-05-30T06:46:41Z | - |
dc.date.available | 2008-05-30T06:46:41Z | - |
dc.date.issued | 2548 | - |
dc.identifier.isbn | 9745323128 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/7134 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548 | en |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญ เกี่ยวกับการสอนประวัติศาสตร์ศิลป์ ตามแนวการคิดแบบวิจารณญาณ ประกอบด้วย 1. วัตถุประสงค์การสอน 2. กรอบเนื้อหาสาระที่ครอบคลุม 3. วิธีการสอน 4. การประเมินผล ในสาขาทัศนศิลป์ ของสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ กลุ่มตัวอย่างประชากรประกอบด้วย ผู้เชี่ยวชาญระดับสูงจำนวน 8 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แบบสอบถาม จำนวน 3 รอบ ตามเทคนิคเดลฟาย วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่ามัธยฐาน ความต่างระหว่างฐานนิยมกับมัธยฐาน และค่าพิสัยระหว่าวควอไทล์ ผลการวิจัยพบว่า ผู้เชี่ยวชาญมีทรรศนะต่อการสอนประวัติศาสตร์ศิลป์ ตามแนวการคิดแบบวิจารณญาณ ดังนี้ 1. วัตถุประสงค์การสอน : มุ่งให้ผู้เรียนสามารถนำศาสตร์ความรู้สาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง มาประกอบการวิเคราะห์ และสรุปข้อมูลทางประวัติศาสตร์ศิลป์ในเชิงบูรณาการ 2. กรอบเนื้อหาสาระที่ครอบคลุม : 1. ประวัติความเป็นมาและผลงานศิลปกรรม ในเรื่องรูปแบบองค์ประกอบ โครงสร้าง2. อิทธิพลหรือปัจจัยต่างๆ ที่มีผลต่อการสร้างงานศิลปกรรม ซึ่งเรื่องวัฒนธรรมถือเป็นปัจจัยสำคัญที่ควรคำนึงเป็นอันดับแรก 3. ความสำคัญของประวัติศาสตร์ศิลป์ในเรื่องความสำคัญกับศาสตร์ความรู้สาขาอื่น 3. วิธีการสอน : 1. วิธีการสังเกตและตั้งประเด็นคำถามหรือปัจจัยอย่างมีหลักการและเหตุผลจากงานศิลปกรรมจริง 2. วิธีการพิจารณแหล่งข้อมูลทางประวัติศาสตร์ศิลป์ที่เชื่อถือได้ จากการศึกษาค้นคว้า หรือวิจัย 3. วิธีการวิเคราะห์ข้อมูลทางประวัติศาสตร์ศิลป์และกรอบสาระข้อมูลที่ต้องวิเคราะห์ โดยวิเคราะห์ความสัมพันธ์ทางด้านรูปทรง ได้แก่ องค์ประกอบ โครงสร้าง รูปแบบ เทคนิควิธีการ และทางด้านเนื้อหา ได้แก่ แนวคิด คติความเชื่อ 4. วิธีการสรุปความสัมพันธ์ของข้อมูลหรือประเด็นปัญหาทางประวัติศาสตร์ศิลป์อย่างมีหลักการและเหตุผล โดยอ้างอิงจากสาเหตุหรืออิทธิพลที่นำไปสู่การสร้างงานศิลปกรรมนั้น 4. การประเมินผล : 1. ประเมินความรู้ความสามารถในการตั้งประเด็นคำถามหรือปัญหา 2. ประเมินความสามารถในการสรุปความสัมพันธ์ของข้อมูลอย่างมีหลักการและเหตุผล | en |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this research were to study specialists' viewpoints on teaching art history on critical thinking consists of 1. Teching Objective 2. Content cover 3. Teching Method and 4. Evaluation in visual art programs of the public higher education institutions. The research consists of the high level of eight specialists sampling and the third times of surveying-questionnaire which the method of Delphi Technique : presented the median of data, the gap between mode and median and the inter quartile range. The specialists' viewpoints on teaching art history on critical thinking indicate the consequence of this research follow as : 1. Teaching Objective : to desire the student combines any relative knowledge in order to analyze and conclude the data of art history on intregate. 2. Content cover : 1. History and art work are especial including in pattern, element and structure. 2. The other factors influence on the art work is culture which is the first priority to consider. 3. The important of art historywith the other knowledge. 3. Teaching Method : 1. The observation method and the created question or problem as principle and reason from the real work. 2. The consideration method in the art history trust worthy matters from research. 3. The analysis method on art history data and content figure such as element, structure, pattem, technique ; to analyze the content such as viewpoint, principle of trust. 4. More over the teaching method advised the conclusion method of content or problem relation as principle and reason that refer to causes or influences to reach the art work. 4. Evaluation : 1. The created question or problem ability. 2. The conclusion of relation as principle and reason. | en |
dc.format.extent | 5943674 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2005.1467 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | ประวัติศาสตร์ศิลป์ -- การศึกษาและการสอน | en |
dc.subject | เทคนิคเดลฟาย | en |
dc.subject | ความคิดอย่างมีวิจารณญาณ | en |
dc.title | ทรรศนะของผู้เชี่ยวชาญเกี่ยวกับการสอนประวัติศาสตร์ศิลป์ ตามแนวการคิดแบบวิจารณญาณในสาขาทัศนศิลป์ ของสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ | en |
dc.title.alternative | Specialists' viewpoints on teaching art history on critical thinking in visual art programs of the public higher education institutions | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | ครุศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | ศิลปศึกษา | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | Piyacharti.s@chula.ac.th | - |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2005.1467 | - |
Appears in Collections: | Edu - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Sawitree.pdf | 5.8 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.