Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/71445
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | บุญเสริม กิจศิริกุล | - |
dc.contributor.advisor | ฐิมาพร เพชรแก้ว | - |
dc.contributor.author | ปทุมศิริ สงศิริ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2020-12-09T03:42:35Z | - |
dc.date.available | 2020-12-09T03:42:35Z | - |
dc.date.issued | 2548 | - |
dc.identifier.isbn | 9745325651 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/71445 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548 | en_US |
dc.description.abstract | การแก้ปัญหาการจำแนกแบบหลายประเภทด้วยซัพพอร์ตเวกเตอร์แมชชีน โดยส่วนใหญ่ จะพิจารณาเป็นปัญหาของการนำตัวจำแนกแบบสองประเภทหลายตัวมาใช้ร่วมกัน วิธีการ ดังกล่าวยังมีข้อจำกัดในเรื่องของความถูกต้องและจำนวนครั้งในการจำแนก งานวิจัยนี้นำเสนอ วิธีการใหม่ในการจำแนกข้อมูลด้วยเทคนิคการแตกครึ่งตามสารสนทศโดยสร้างต้นไม้สำหรับการ จำแนกแบบใบนารีจากตัวจำแนกแบบสองประเภท ซึ่งแต่ละโนดของต้นไม้จะเป็นตัวจำแนกแบบ สองประเภทที่มีค่าเอนโทรปีต่ำที่สุด วิธีนี้สามารถลดจำนวนตัวจำแนกแบบสองประเภทที่ใช้ใน การจำแนกลงได้เป็นลอการิทึมของจำนวนประเภทซึ่งต่ำกว่าวิธีอื่น จากผลการทดลองแสดงให้ เห็นว่าวิธีนี้สามารถลดจำนวนครั้งของการจำแนกลงได้ และยังคงให้ค่าความถูกต้องใกล้เคียงกับ วิธีอื่น | - |
dc.description.abstract | การศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากระบวนการสร้างอัตลักษณ์และอิทธิพลรวมถึง แรงจูงใจต่าง ๆที่ส่งผลต่อการกระทำผิดของผู้ต้องขังคดีฆ่าข่มขืน นอกจากนี้เพื่อศึกษาหาแนวทาง การป้องกันมิให้ผู้หญิงเป็นเหยื่อ รวมถึงวิธีบำบัดอาชญากรเพื่อไม่ให้ก่ออาชญากรรมทางเพศต่อไป โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยทางมานุษยวิทยา ด้วยเทคนิคการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก การสังเกตการณ์ การจดบันทึกและการบันทึกเสียงจากกลุ่มตัวอย่างผู้ต้องขังเด็ดขาดคดีฆ่าข่มขืนที่ยอมรับว่าก่อคดี ฆ่าข่มชื่น จำนวน 10 ราย โดยนำมาวิเคราะห์ถึงภาพรวมของกระบวนการขัดเกลาทางสังคมที่หล่อ หลอมผู้ต้องขังทั้ง 10 ราย รวมถึงได้มีการนำมาวิเคราะห์เข้ากับแนวคิดชายเป็นใหญ่ที่อาจมีอิทธิพล ต่อการกระทำผิดของผู้ต้องขัง ซึ่งผู้วิจัยใช้การวิเคราะห์ข้อมูลโดยทำตารางสรุปและการพรรณนา ผลการศึกษาเกี่ยวกับกระบวนการสร้างอัตลักษณ์ของผู้ต้องขังคดีฆ่าข่มขืน สามารถสรุปได้ว่า ผู้ต้องขังกลุ่มตัวอย่างที่ก่อคดีฆ่าข่มขืนนั้น ส่วนใหญ่มีอายุปัจจุบันอยู่ในช่วงระหว่าง 31-40 ปี มี อายุขณะกระทำผิดมากที่สุด คือช่วง 21-30ปี เป็นผู้ที่มีภูมิลำเนากระจายอยู่ทั่วทุกภาคของประเทศ ไทย ส่วนใหญ่มีอาชีพ รับจ้าง รองลงมาคือ อาชีพทำนาและส่วนใหญ่มีสถานภาพโสด ส่วนผลการศึกษาด้านกระบวนการขัดเกลาทางสังคมนั้นแสดงให้เห็นว่าผู้ต้องขังกลุ่มตัวอย่าง ส่วนใหญ่อาศัยอยู่ในครอบครัวที่ไม่อบอุ่น มีการใช้ความรุนแรงในครอบครัว จบการศึกษาสูงสุดจาก ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 มีผู้ต้องขังเพียงบางรายที่เคยมีประวัติการติดยาเสพติด ผู้ต้องขังส่วน น้อยที่เคยดูสื่อลามก เนื่องจากเป็นสื่อที่หาดูยากในละแวกที่อาศัย ส่วนสื่อที่มีความรุนแรงนั้นเป็นที่ นิยมของผู้ต้องขังแต่ดูเพียงเพื่อความเพลิดเพลินเท่านั้น และผู้ต้องขังทั้ง 10 ราย เคยมีประสบการณ์ ทางเพศ นอกจากนี้ จากการศึกษา ยังพบว่าผู้ต้องขังส่วนใหญ่ได้ดื่มสุราในปริมาณมากก่อนการ กระทำผิด ซึ่งสามารถสรุปได้ว่าสุราเป็นปัจจัยสำคัญที่ทำให้ผู้ต้องขังก่อคดีฆ่าข่มขืน | - |
dc.description.abstractalternative | Approaches for solving a multiclass classification problem by Support Vector Machines (SVMs) are typically to consider the problem as combination of two-class classification problems. Previous approaches have some limitations in classification accuracy and the number of evaluations. This research proposes a novel method that employs information-based dichotomization for constructing a binary classification tree. Each node of the tree is a binary SVM with the minimum entropy, Our method can reduce the number of binary SVMs used in the classification to the logarithm of the number of classes which is lower than previous methods. The experimental results show that the proposed method takes tower the number of evaluations while it maintains accuracy compared to other methods. | - |
dc.description.abstractalternative | The Purposes of this research were to study about identity formation and influences to offence of felony ape inmates by using Anthropological Methodology together with techniques of in depth interviewing, observation, field note and recording in collecting data from 10 rapist killers and apply to Patriarchy theory for analyzing inmates' behavior in a form schedule and describe. The research can conclude that most of rapist killer inmates are 31-40 years old. The age while doing something wrong are 21-30 years old. Their domiciles are in every section in Thailand. Most of them working for money and being farmers. About Socialization result shows that most of inmates' family are broken, the highest education is elementary. Some inmates used to be addicted. A few used to consume lewd media, their favorite media is violent, but they consume only for enjoying and all of inmates have sex experience. Furthermore, the research finds that most of inmates used much quantity of alcohol before rape and kill. | - |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | การเรียนรู้ของเครื่อง | en_US |
dc.subject | ทฤษฎีเครื่องจักรคำนวณ | en_US |
dc.subject | Machine learning | en_US |
dc.subject | Machine theory | en_US |
dc.title | เทคนิคการแตกครึ่งตามสารสนเทศสำหรับซัพพอร์ตเวกเตอร์แมชชีนแบบหลายประเภท | en_US |
dc.title.alternative | Information-based dichotomization technique for multiclass support vector machines | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | วิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.advisor | boonserm@cp.eng.chula.ac.th, Boonserm.K@chula.ac.th | - |
dc.email.advisor | ไม่มีข้อมูล | - |
Appears in Collections: | Eng - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Patoomsiri_so_front_P.pdf | 926.57 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Patoomsiri_so_ch1_p.pdf | 743.74 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Patoomsiri_so_ch2_p.pdf | 1.3 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Patoomsiri_so_ch3_p.pdf | 1.09 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Patoomsiri_so_ch4_p.pdf | 2.2 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Patoomsiri_so_ch5_p.pdf | 714.12 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Patoomsiri_so_back_p.pdf | 954.45 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.