Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/71539
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวิชุดา รัตนเพียร-
dc.contributor.authorสุกานดา ส.มนัสทวีชัย-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2020-12-15T04:04:26Z-
dc.date.available2020-12-15T04:04:26Z-
dc.date.issued2540-
dc.identifier.isbn9746392271-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/71539-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2540en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีจุดประสงค์ เพื่อศึกษาผลของการใช้กรอบมโนทัศน์ ในบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน วิชาวิทยาศาสตร์ ที่มีต่อความคงทนในการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนขามสะแกแสง จังหวัดนครราชสีมา สังกัดกรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ซึ่งได้มาจากการสุ่มตัวอย่างอย่างง่าย จำนวน 40 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลอง 2 กลุ่ม ๆ ละ 20 คน จัดเป็นกลุ่มทดลองดังนี้ กลุ่มทดลอง 1 เรียนบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนที่คอมพิวเตอร์เป็นผู้นำเสนอกรอบมโนทัศน์ กลุ่มทดลอง 2 เรียนบท เรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนที่ผู้เรียนเป็นผู้สร้างกรอบมโนทัศน์วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่า ที (t-test) ผลการวิจัยพบว่า ความคงทนในการเรียนของผู้เรียนทั้ง 2 กลุ่ม โดยใช้การสร้างกรอบมโนทัศน์ 2 แบบ มีความแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ผู้เรียนที่เรียนบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนที่ผู้เรียนเป็นผู้สร้างกรอบมโนทัศน์ มี ความคงทนในการเรียนมากกว่า ผู้เรียนที่เรียนบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ที่คอมพิวเตอร์เป็นผู้นำเลนอกรอบมโนทัศน์ให้-
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research study was to study the effects of using computer-assisted instruction lesson on learning retention of science of mathayom suksa four students. The subjects were 40 students of Khamsakeaseang school, Nakornratchasima. The subjects were randomly assigned and divided into 2 groups. Each group consisted of 20 students as follows : groups 1 Students to create their own concept mapping ; groups 2 students studied from CAI lesson which included concept mapping for students. The results were as follows: there was statistically significant difference at : .05 level. It showed that CAI lesson that allows students to create their own concept mapping provide better learning.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectความคิดรวบยอดen_US
dc.subjectคอมพิวเตอร์ช่วยการสอนen_US
dc.subjectการเรียนรู้en_US
dc.subjectความจำen_US
dc.subjectConceptsen_US
dc.subjectComputer-assisted instructionen_US
dc.subjectLearningen_US
dc.subjectMemoryen_US
dc.titleผลของการใช้กรอบมโนทัศน์ในบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนวิชาวิทยาศาสตร์ ที่มีต่อความคงทนในการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4en_US
dc.title.alternativeEffects of concept mapping in computer-assisted instruction lessons in science subject upon retention of learning of mathayom suksa four studentsen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineโสตทัศนศึกษาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorVichuda.R@chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sukanda_s.ma_front.pdfหน้าปกและบทคัดย่อ323.66 kBAdobe PDFView/Open
Sukanda_s.ma_ch1.pdfบทที่ 1361.88 kBAdobe PDFView/Open
Sukanda_s.ma_ch2.pdfบทที่ 22.1 MBAdobe PDFView/Open
Sukanda_s.ma_ch3.pdfบทที่ 3288.63 kBAdobe PDFView/Open
Sukanda_s.ma_ch4.pdfบทที่ 448.02 kBAdobe PDFView/Open
Sukanda_s.ma_ch5.pdfบทที่ 5325.74 kBAdobe PDFView/Open
Sukanda_s.ma_back.pdfบรรณานุกรมและภาคผนวก643.76 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.