Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/71583
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสมหวัง พิธิยานุวัฒน์-
dc.contributor.advisorสุวัฒนา อุทัยรัตน์-
dc.contributor.authorอุษา คงทอง-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2020-12-16T07:15:45Z-
dc.date.available2020-12-16T07:15:45Z-
dc.date.issued2539-
dc.identifier.isbn9746342576-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/71583-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539-
dc.description.abstractการวิจัยนี้วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาสำนึกทางด้านจำนวน ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 กรุงเทหมหานคร และวิเคราะห์หารูปแบบของความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของสำนึกทางด้านจำนวน และตัวแปร คัดสรร ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ โดยนำผลที่ได้จากการศึกษาดังกล่าวมาประกอบการพิจารณา ในการนำเสนอโปรแกรมสำนึกทางด้านจำนวน การดำเนินการวิจัย แบ่งออกเป็นสองระยะ คือ ระยะที 1 เป็นการศึกษาสำนึกทางด้านจำนวนของนักเรียนและวิเคราะห์หารูปแบบความสัมพันธ์เชิงสาเหตุ ของสำนักทางด้านจำนวน และตัวแปรคัดสรรที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ โดยใช้การวิเคราะห์เส้นทาง (Path Analysis) และในระยะที่ 2 เน้นการศึกษาประสิทธิผลของโปรแกรมสำนึก ทางด้านจำนวน ผลการวิจัยระยะที่ 1 พบว่า นักเรียนมีค่าเฉลี่ยของคะแนนสำนึกทางด้านจำนวน เท่ากับ 27.22 จากคะแนนเต็ม 60 คะแนน และเมื่อทำการวิเคราะห์หารูปแบบความสัมพันธ์เชิงสาเหตุฯ พบว่า ตัวแปรที่ส่งผลทางตรงสูงสุดต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ (ด้านความรู้และทักษะ) คือ ความสามารถ ในการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์ รองลงมาคือ ความรู้พื้นฐานเดิม และสำนึกทางด้านจำนวน ตามลำดับ ส่วนตัวแปรที่ส่งผลทางตรงสูงสุดต่อสำนึกทางด้านจำนวนคือ ความสามารถในการแก้ปัญหาคคณิตศาสตร์ รองลงมาคือ ความรู้พื้นฐานเดิม ผลการวิจัยในระยะที่ 2 จากผลของการทดลองให้โปรแกรม พบว่า เมื่อกำหนดให้ตัวแปร ความสามารถในการแก้ปัญหา และ/หรือความรู้พื้นฐานเดิม เน้นตัวแปรร่วม พบว่า นักเรียนกลุ่มที่ได้รับการสอนและฝึกจากโปรแกรมสำนึกทางด้านจำนวน มีคะแนนเฉลี่ยของสำนึกทางด้านจำนวน และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์สูงกว่ากลุ่มที่ไม่ได้รับการสอนและฝึกจากโปรแกรมสำนึกทางด้านจำนวนอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05-
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to study the number sense of Mathayom Suksa II students from Bangkok Metropolis; and to analyze the causal I effect relation model of number sense and selected variables on mathematics learning achievement. The results from first phase were scrutinized to propose I the number sense program. This research devided to 2 phases. Phase I was to study and analyze to find out the causal effect relation model of number sense1 and selected variables on mathematics learning achievement by using Path Analysis. Phase II was to study the efficiency of number sense program. The results of phase I showed that students got mean of number sense I score 27.22 from total score 60. while analyzing the causal effect model of number sense and selected variables on mathematics learning achievement found that the variables which had the most direct effect on mathematics learning achievement (knowledge and skill) were mathematics problem solving ability, prior knowledge and number sense respectively and the variables that had the most direct effect on number sense were mathematics problem solving ability and prior knowledge repectively. The results of phase II showed that the students in experiment group got higher mean score of number sense and mathematics learning achievement than the control group at the .05 level of significance.-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subjectคณิตศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน-
dc.subjectผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน-
dc.subjectจำนวนเลข-
dc.titleผลของสำนึกทางด้านจำนวน และตัวแปรคัดสรร ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น กรุงเทพมหานคร-
dc.title.alternativeEffects of number sense and selected variables on mathematics learning achievement of lower secondary school students, Bangkok Metropolis-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาเอก-
dc.degree.disciplineหลักสูตรและการสอน-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Usa_ko_front_p.pdf1.1 MBAdobe PDFView/Open
Usa_ko_ch1_p.pdf4.19 MBAdobe PDFView/Open
Usa_ko_ch2_p.pdf6.29 MBAdobe PDFView/Open
Usa_ko_ch3_p.pdf2.26 MBAdobe PDFView/Open
Usa_ko_ch4_p.pdf2.22 MBAdobe PDFView/Open
Usa_ko_ch5_p.pdf1.49 MBAdobe PDFView/Open
Usa_ko_ch6_p.pdf1.66 MBAdobe PDFView/Open
Usa_ko_back_p.pdf5.96 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.