Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/71670
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สุจริต คูณธนกุลวงศ์ | - |
dc.contributor.advisor | สุทัศน์ วีสกุล | - |
dc.contributor.author | สุธรรม วิสุทธิเมธีกร | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.date.accessioned | 2020-12-22T05:58:08Z | - |
dc.date.available | 2020-12-22T05:58:08Z | - |
dc.date.issued | 2539 | - |
dc.identifier.isbn | 9746334018 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/71670 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539 | - |
dc.description.abstract | การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาเพื่อหาค่าพารามิเตอร์ทางชลศาสตร์ที่เหมาะสม เพื่อใช้ในการประมาณอัตราการตกตะกอนในร่องน้ำกรุงเทพฯ โดยใช้แบบจำลองทางคณิตศาสตร์ การศึกษาครอบคลุมการทบทวนสภาพทางชลศาสตร์และอุทกวิทยาบริเวณปากแม่น้ำเจ้าพระยา ปริมาณการตกตะกอนที่มีการวัดไว้เพื่อใช้ในการศึกษาเปรียบเทียบในการศึกษาครอบคลุมการจำลองสภาพการตกตะกอนในบริเวณปากแม่น้ำเจ้าพระยา ขนาด 16 x 20 ตารางกิโลเมตร โดยทำการคำนวณสภาพการไหล การเปลี่ยนแปลงของขนาดคลื่น การฟุ้งกระจาย และตกตะกอนในสภาพแบบคงที่ (steady state) และพิจารณาเฉพาะแหล่งตะกอนจากการพามาของแม่น้ำและคลื่นเท่านั้นผลการศึกษาพบว่า สภาพการไหลสุทธิของกระแสน้ำจากแม่น้ำจะไหลออกจากปากแม่น้ำ โดยทิศทางการไหลมีแนวโน้มไหลไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ การไหลในร่องน้ำจะมีขนาดมากบริเวณปากแม่น้ำและลดลงไปในแนวร่องน้ำจนถึงบริเวณทางโค้งของร่องน้ำ (กม. 5 - 6) สภาพคลื่นโดยเฉลี่ยในแนวร่องน้ำมีขนาดเล็ก คลื่นจะพัดผ่านร่องน้ำและแตกตัวใกล้ชายฝั่ง การฟุ้งกระจายของตะกอนฟุ้งกระจาย มากบริเวณปากแม่น้ำและแพร่มาถึงบริเวณทางโค้งของร่องน้ำ จากนั้นความเข้มข้นจะลดลงอย่างมากตามแนวถึงเขตนอกชายฝั่งพารามิเตอร์ที่พิจารณาในการคำนวณอัตราการตกตะกอนในการศึกษาครั้งนี้คือ ค่าคงที่การแพร่และความเร็วในการตกตะกอน เมื่อพิจารณาจากแหล่งตะกอนสองแหล่งและเป็นค่าคงที่ทั้งปี จะได้ค่าคงที่ที่หมาะสมจะมีค่าดังนี้ ค่าคงที่การแพร่เท่ากับ 0.15 และค่าความเร็วในการตกตะกอนเท่ากับ 5.0 เซนติเมตรต่อวินาที อย่างไรก็ตามเมื่อพิจารณาอัตราการตกตะกอนเป็นรายเดือน ค่าความเร็วในการตกตะกอนที่ได้ ทำให้เกิดการตกตะกอนมากไปและน้อยไปในรายเดือน จึงควรจะพิจารณาปรากฎการณ์การ ตกตะกอนแบบไม่คงที่ (unsteady state) และใช้ค่าพารามิเตอร์ในลักษณะเป็นตัวแปรสำหรับการศึกษาต่อไป | - |
dc.description.abstractalternative | This study aimed to define suitable hydraulic parameters for Bangkok Bar sedimentation in mathematical modelling. The study covered the review of hydraulic and hydrographical conditions of Bangkok Bar and actual survey data of sedimentation rate for comparision. The study covered the sedimentation simulation in the area of the Chao Phraya River mouth of 16 x 20 square kilometers and included the calculations of flow, wave transformation, sedimentation in the steady state and considered only the sediments transported from river and by wave. The results indicated that the net river discharge tends to flow in the southeast direction where the current in the Bar is strong at the beginning of the river mouth and decreases in the direction of the Bar up to the curved portion (km. 5 - 6) of the Bar. The average wave condition in the Bar is gentle by which the wave passes through the Bar and breaks near the shoreline. Sediment diffuses from the river mouth through the curved portion of the Bar and front there, the concentration abruptly decreases in the Bar direction till deep water offshore zone. In the study, the hydraulic parameters considered are the diffusion constant and settling velocity. When considered only sediment sources from river and wave and with the constant value for the whole year, the suitable values of diffusion constant and settling velocity are found to be 0.15 and 5.0 cm/sec. However, the constant settling velocity induced the differences of sedimentation rate compared with the actual data in monthly basis, hence the phenomena should be considered in the unsteady state and the settling velocity value should also be considered as variable in the future study. | - |
dc.language.iso | th | - |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | - |
dc.subject | วิศวกรรมชลศาสตร์ | - |
dc.subject | แบบจำลองทางคณิตศาสตร์ | - |
dc.subject | การประมาณค่าพารามิเตอร์ | - |
dc.subject | raulic engineering | - |
dc.subject | Mathematical models | - |
dc.title | การหาค่าพารามิเตอร์ทางชลศาสตร์ที่ใช้ในแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ ของการตกตะกอนในร่องน้ำกรุงเทพฯ | - |
dc.title.alternative | Hydraulic parameter identification for mathematical models of Sedimentation in Bangkok Bar channel | - |
dc.type | Thesis | - |
dc.degree.name | วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต | - |
dc.degree.level | ปริญญาโท | - |
dc.degree.discipline | วิศวกรรมโยธา | - |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | - |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Suthum_vi_front_p.pdf | 1.16 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Suthum_vi_ch1_p.pdf | 1.14 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Suthum_vi_ch2_p.pdf | 1.61 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Suthum_vi_ch3_p.pdf | 934.58 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Suthum_vi_ch4_p.pdf | 2.11 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Suthum_vi_ch5_p.pdf | 1.29 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Suthum_vi_ch6_p.pdf | 1.04 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Suthum_vi_ch7_p.pdf | 671.56 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Suthum_vi_back_p.pdf | 14.49 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.