Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/71680
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | โสตถิธร มัลลิกะมาส | - |
dc.contributor.author | อภิรักษ์ อัศววงศ์เสถียร | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.date.accessioned | 2020-12-25T07:13:11Z | - |
dc.date.available | 2020-12-25T07:13:11Z | - |
dc.date.issued | 2540 | - |
dc.identifier.isbn | 9746367242 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/71680 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2540 | en_US |
dc.description.abstract | ในปัจจุบันการให้บริการของธนาคารพาณิชย์ไม่ได้กระจายครอบคลุมอยู่ทุกพื้นที่ในประเทศและเป็นอุปสรรคในการพัฒนาภูมิภาค การศึกษาพฤติกรรมของธนาคารพาณิชยและการกระจายการให้บริการมี วัตถุประสงค์ที่จะศึกษาการให้บริการที่เข้าถึงของธนาคารพาณิชย์ ความน่าจะเป็นของการเปิดให้บริการสาขา ธนาคารพาณิชย์ครบทุกอำเภอของจังหวัด และความน่าจะเป็นของการเปิดให้บริการสาขาธนาคารพาณิชย'ใน ระดับอำเภอ โดยใช้แบบจำลองทางเศรษฐมิติแบบกำลังสองน้อยที่สุด และ โพรบิท และปีที่ใช้ในการศึกษาคือ ปี2527. ปี2532 และปี2537 จากการศึกษาเรื่องการให้บริการที่เข้าถึงของธนาคารพาณิชย์พบว่าตัวแปรที่มิอิทธิพลอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติคือ ตัวแปรรายได้เฉลี่ยต่อประชากรซึ่งมีค่าความยืดหยุ่นอยู่ระหว่าง 0.64-0.72 โดยในปี 2527 มีค่าความ ยืดหยุ่นเท่ากับ 0.72 และมีค่าความยืดหยุ่นเท่ากับ 0.64 และ 0.66 ในปี 2532 และปี 2537 ตามลำดับ และตัวแปรเปอร์เซ็นต์ของประชากรที่อยู่ในเขตเทศบาลซึ่งมีค่าความยืดหยุ่นอยู่ระหว่าง 0.23-0.37 โดยในปี 2527 มีค่าความยืดหยุ่นเท่ากับ 0.37 และมีค่าความยืดหยุ่นเท่ากับ 0.34 และ 0.24 ในปี 2532 และปี 2537 ตามลำดับ ส่วนการศึกษาเรื่องความน่าจะเป็นของการเปิดให้บริการสาขาธนาคารพาณิชย์ครบทุกอำเภอของจังหวัดพบว่าตัวแปรที่มี อิทธิพลอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติคือ ตัวแปรระดับรายได้ภาษีของอำเภอที่ต่ำสุดในจังหวัด และตัวแปรเปอร์เซ็นต์จำนวนหมู่บ้านที่ไม่มีนํ้ากินนํ้าใช้ตลอดปีในจังหวัด สำหรับการศึกษาเรื่องความน่าจะเป็นของการเปิดให้บริการ สาขาธนาคารพาณิชยในระดับอำเภอพบว่าตัวแปรที่มีอิทธิพลอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติคือ ตัวแปรรายได้ภาษีบุคคลธรรมดา และตัวแปรเปอร์เซ็นต์จำนวนหมู่บ้านที่ไม่มีไฟฟ้าใช้ ผลการศึกษาข้างต้นทำให้ทราบว่าปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการกระจายการให้บริการของธนาคารพาณิชย์ ประกอบด้วย 2 ปัจจัยหลักคือ ปัจจัยระดับรายได้ และปัจจัยระดับความเจริญของโครงสร้างพื้นฐาน ดังนั้นการดำเนินนโยบายการกระจายการให้บริการทางการเงินของรัฐบาลจึงควรควบคู่ไปกับการพัฒนาความเจริญของเมืองและโครงสร้างพื้นฐานจึงจะส่งผลทำให้การกระจายการให้บริการของธนาคารพาณิชย์ เข้าถึงประชากรได้มากขึ้น | - |
dc.description.abstractalternative | The distribution of commercial bank branches in Thailand is still concentrated in urban area, leading to an obstruction to regional development . The study of behaviours of commercial banks and distribution of services aims to analyze, (i) the accessibility to commercial bank services, defined as number bank branches per population (ii) the probability of having a commercial bank branch in the amphur and (iii) the probability of having a branch of commercial banks in every amphur in the proving. The studies employ an Ordinary Least Square Model (OLS) and Probit Model, using data of 1984. 1989 and 1994. The factors which statistically affect the accessibility to commercial bank services are average income per person, with elasticities of 0.72. 0.64 and 0.66 in 1994, 1989 and 1994 respectively. Percentages of population living in the municipal area effect accessibility with elasticities of 0.37, 0.34 and 0.24 in 1984, 1989 and 1994, respectively. The probability of having a commercial bank branch in every amphur in the province is statistically determined by income tax of the amphur with minimum income level in the province and percentages of villages without portable water in die province. The probability of having a branch of commercial banks in die amphur depends on income tax per person and percentages of villages without electricity in die amphur. In short, distribution of banking services depends on the level of income and development of infrastructure. As a result, in order to distribute banking services to regional areas, policies improving income distribution and infrastructure in regional areas are required. | - |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | ธนาคารและการธนาคาร -- บริการลูกค้า -- ไทย | en_US |
dc.subject | การจัดการธนาคาร | en_US |
dc.subject | Banks and banking -- Customer services -- Thailand | en_US |
dc.subject | Bank management | en_US |
dc.title | พฤติกรรมของธนาคารพาณิชย์และการกระจายการให้บริการ | en_US |
dc.title.alternative | Behaviours of commercial bank and service distribution | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | เศรษฐศาสตร์ | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.advisor | Sothitorn.M@Chula.ac.th | - |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Apirak_as_front.pdf | หน้าปกและบทคัดย่อ | 423.56 kB | Adobe PDF | View/Open |
Apirak_as_ch1.pdf | บทที่ 1 | 377.53 kB | Adobe PDF | View/Open |
Apirak_as_ch2.pdf | บทที่ 2 | 375.36 kB | Adobe PDF | View/Open |
Apirak_as_ch3.pdf | บทที่ 3 | 1.1 MB | Adobe PDF | View/Open |
Apirak_as_ch4.pdf | บทที่ 4 | 718.54 kB | Adobe PDF | View/Open |
Apirak_as_ch5.pdf | บทที่ 5 | 1.22 MB | Adobe PDF | View/Open |
Apirak_as_ch6.pdf | บทที่ 6 | 321.11 kB | Adobe PDF | View/Open |
Apirak_as_back.pdf | บรรณานุกรมและภาคผนวก | 4.27 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.