Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/71694
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorมุรธา วัฒนะชีวะกุล-
dc.contributor.authorเอกวัตร จินตนาดิลก-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2020-12-30T05:16:29Z-
dc.date.available2020-12-30T05:16:29Z-
dc.date.issued2540-
dc.identifier.isbn9746382608-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/71694-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (น.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2540en_US
dc.description.abstractความสำคัญในการดำเนินคดีอาญา คือ การค้นหาความจริงว่าข้อเท็จจริงในคดีนั้นเป็นอย่างไร เพื่อนำไปปรับเข้ากับตัวบทกฎหมาย และวินิจฉัยคดีนั้นต่อไป สิ่งที่จะทำให้การดำเนินคดีอาญา เป็นไปด้วยความยุติธรรมและบรรลุผลนั้น คือ พยานหลักฐาน ไม่ว่าจะเป็นพยานเอกสาร พยานวัตถุ หรือพยานบุคคล โดยเฉพาะพยานบุคคลซึ่งเป็นพยานที่สำคัญมากในคดีอาญา เพราะเป็นพยานที่สามารถถ่ายทอดข้อเท็จจริงออกมาทั้งหมดได้โดยการเบิกความ ซึ่งถือเป็นหน้าที่ของประชาชนทุกคนที่จะต้องให้ ความร่วมมือกับรัฐ ในการไปให้ถ้อยคำหรือเบิกความที่ศาลในฐานะพยานบุคคล โดยรัฐมีเครื่องมือใช้บังคับคับพยานที่ขัดขืนหมายหรือคำสั่งของศาลให้มาให้ถ้อยคำหรือให้มาเบิกความ ได้แก่ ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 170 ความผิดฐานขัดขืนหมายหรือคำสั่งของศาล เจตนารมณ์ของบทบัญญัติ มาตรานี้มุ่งคุ้มครองรัฐในการแสวงหาความจริงแห่งคดี โดยมีวัตถุประสงค์ของการลงโทษเพื่อยับยั้งหรือ ข่มขู่ให้บุคคลเกิดความเกรงกลัวต่อโทษจะได้ไม่กล้าฝ่าฝืน และต้องการให้อัตราโทษมีความสัมพันธ์กับการกระทำความผิด กล่าวคือ ความผิดร้ายแรงมาก อัตราโทษมาก ความผิดร้ายแรงน้อย อัตราโทษน้อย แต่จากการพิจารณาองค์ประกอบความผิดตาม มาตรา 170 จะเห็นได้ว่าความผิดฐานนี้มิได้บัญญัติรายละเอียดจำแนกความร้ายแรงของความผิดแต่อย่างใด และการกำหนดโทษก็ไม่ได้แบ่งระดับอัตราโทษ ตามความร้ายแรงของคดีที่พยานได้ขัดขืนหมายหรือคำสั่งของศาล เพื่อให้เป็นไปตามเจตนารมณ์ของบทบัญญัติมาตรานี้ หากได้มีการบัญญัติถึงรายละเอียด ในการจำแนกความร้ายแรงของความผิด ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของการลงโทษเพื่อยับยั้งหรือข่มขู่ ที่ จะมีผลต่อการยับยั้งการกระทำความผิดได้ต่อเพื่ออัตราโทษจะต้องได้สัดส่วนกับการกระทำความผิดหรือมากกว่า และใด้มีการบังคับใช้กฎหมายตามมาตรานี้โดยคำนึงถึงเจตนารมณ์ของกฎหมายแล้ว จะนำมาซึ่งการดำเนินกระบวนการพิจารณาคดีอาญาได้ด้วยความยุติธรรม และบรรลุผลมากขึ้น เพื่อประโยชน์ แก่กระบวนการยุติธรรมต่อไป-
dc.description.abstractalternativeAn essence of criminal litigation is to investigate the facts of the case in order to apply them to the applicable laws and to then make decision. What can make a criminal litigation proceeded fairly and successfully is evidence, either a documentation, object or witness. Witnesses are very important for criminal cases as they can present all facts by testimony. Every people has a duty to cooperate with the state in giving statement or testimony at the court as witness. One of the measures taken by the State to force a witness disobedience in writ or order of the court to make statement or testimony is Section 170 of the Penal Code, i.e. offense of disobedience in writ or order of the Court. This law aims at protecting the State in investigating the facts of a case, prescribing punishment in order to deter people from out of disobedience. In addition, the degree of punishment would correspond with the offense, i.e. the more serious offense, the higher the punishment is, the less serious offense, the lower the punishment is. Notwithstanding, given the provision of Section 170, neither a degree of offense is specified nor a punishment based on the seriousness of the case relating to which the witness has disobeyed the writ or order of the court. In order to satisfy the legal intention of the said Section, a diversification of degree of offenses should be provided so that it can meet the objective of punishment to deter as aforesaid. A punishment may deter offense only if the punishment corresponds with or heavier than the committed offense. Additionally, the enforcement of this Section should be made taking the legal intention into account. These would lead to a more fair and successful criminal proceedings, beneficial to the justice further.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการสืบสวนคดีอาญาen_US
dc.subjectพยานบุคคลen_US
dc.subjectความผิด (กฎหมาย)en_US
dc.subjectCriminal investigationen_US
dc.subjectWitnessesen_US
dc.subjectGuilt (Law)en_US
dc.titleความผิดฐานขัดขืนหมายหรือคำสั่งของศาล : กรณีศึกษาพยานบุคคลในคดีอาญาen_US
dc.title.alternativeOffense of disobedience in writ or order of the court : a case study on witness in criminal caseen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineนิติศาสตร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Aekawat_ch_front.pdfหน้าปกและบทคัดย่อ442.2 kBAdobe PDFView/Open
Aekawat_ch_ch1.pdfบทที่ 1250.75 kBAdobe PDFView/Open
Aekawat_ch_ch2.pdfบทที่ 22.15 MBAdobe PDFView/Open
Aekawat_ch_ch3.pdfบทที่ 31.97 MBAdobe PDFView/Open
Aekawat_ch_ch4.pdfบทที่ 42.6 MBAdobe PDFView/Open
Aekawat_ch_ch5.pdfบทที่ 5438.91 kBAdobe PDFView/Open
Aekawat_ch_back.pdfบรรณานุกรมและภาคผนวก453.26 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.