Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/71744
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนเรศร์ จันทร์ขาว-
dc.contributor.advisorธัชชัย สุมิตร-
dc.contributor.authorปานทิพย์ อัมพรรัตน์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2021-01-16T23:05:15Z-
dc.date.available2021-01-16T23:05:15Z-
dc.date.issued2539-
dc.identifier.isbn9746368494-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/71744-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรร์มหาวิทยาลัย, 2539-
dc.description.abstractได้ทำการศึกษาทดลองวิเคราะห์ธาตุอะลูมิเนียม ซิลิกอน แคลเซียม และเหล็ก แบบไม่ทำลายในตัวอย่าง ซีเมนต์ผงปริมาณมาก โดยใช้เทคนิคนิวตรอน 3 เทคนิค ได้แก่ เทคนิคการวัดรังสีพรอมต์แกมมาจากการชนแบบไม่ยืดหยุ่นของนิวตรอน เทคนิคการวัดรังสีพรอมต์แกมมาจากปฏิกิริยาการจับนิวตรอน และเทคนิคนิวตรอนแอกติเวชันแบบหมุนวน การวิเคราะห์ซิลิกอนและเหล็กใช้เทคนิคการวัดรังสีพรอมต์แกมมาจากการชนแบบไม่ยืดหยุ่นของนิวตรอน โดยมี อะเมริเซียม-241/เบริลเลียม ความแรง 90 มิลลิคูรี เป็นต้นกำเนิดนิวตรอนเร็ว การวิเคราะห์อะลูมิเนียมใช้เทคนิคนิวตรอนแอกติเวชันแบบหมุนวน สวนเทคนิคการวัดรังสีพรอมต์แกมมาจากปฏิกิริยาการจับนิวตรอนใช้ในการวิเคราะห์แคลเซียมและเหล็ก สำหรับเทคนิคนิวตรอนแอกติเวชันและเทคนิคการวัดรังสีพรอมต์แกมมาจากปฏิกิริยาการจับนิวตรอนได้ใช้เทอร์มัลนิวตรอนที่ได้จากพลูโทเนียม-238/เบริลเลียม ความแรง 5 คูรี ที่มีน้ำเป็นตัวหน่วงนิวตรอน การวัดรังสีแกมมาในการวิจัยนี้ใช้หัววัดรังสีโซเดียมไอโอไดด์ (แทลเลียม) ขนาด 5 นิ้ว X 5 นิ้ว พบว่า ขีดจำกัดในการวิเคราะห์ อะลูมิเนียม ซิลิกอน แคลเซียม และเหล็ก มีคาประมาณ 1, 10, 20 และ 0.5 เปอร์เซนต์ โดยน้ำหนักตามลำดับ ผลการวิเคราะห์ตัวอย่างปูนซีเมนต์ด้วยเทคนิคนิวตรอนมีค่าใกล้เคียงกับผลวิเคราะห์ที่ได้จากวิธีการเรืองรังสีเอกซ์ ยังจำเป็นต้องมีการปรับปรุงเทคนิคนิวตรอนบางส่วนก่อนการนำไปใช้งานจริงในการวิเคราะห์ตัวอย่างซีเมนต์ผง-
dc.description.abstractalternativeNondestructive analysis of Al, Si, Ca and Fe in bulk cement powder sample was investigated using neutron techniques i.e. inelastic neutron scattering analysis (INSA), prompt captured gamma-ray neutron activation analysis (PGNAA) and cyclic neutron activatron analysis (CNAA). Si and Fe were analyzed by the INSA using 90 mCi241 Am-Be as a fast neutron source. The CNAA was| used to analyze Al while the PGNAA was used to anlyze Ca and Fe. In the CNAA and PGNAA thermal neutrons were produced from a water moderated 5 Ci 238Pu-Be neutron source. All gamma-ray measurements in this research were done by using a 5”x5" Nal(Tl) detector. The detector limits of Al, Si, Ca and Fe were found to be about 1, 10, 20 and 0.5% by weight respectively. Analysis results of cement powder samples from the neutron techniques were in good agreement with those obtained from the XRF method. Further improvement is required before the techniques is actually applied in analyzing the cement powder samples.-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subjectปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์-
dc.subjectนิวตรอน-
dc.subjectPortland cement-
dc.subjectNeutrons-
dc.titleการวิเคราะห์ปูนซีเมนต์ปริมาณมากโดยใช้เทคนิคนิวตรอน-
dc.title.alternativeBulk analysis of cement using neutron techniques-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineนิวเคลียร์เทคโนโลยี-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Pantip_am_front_p.pdfหน้าปก และ บทคัดย่อ1.02 MBAdobe PDFView/Open
Pantip_am_ch1_p.pdfบทที่ 1935.24 kBAdobe PDFView/Open
Pantip_am_ch2_p.pdfบทที่ 21.37 MBAdobe PDFView/Open
Pantip_am_ch3_p.pdfบทที่ 32.49 MBAdobe PDFView/Open
Pantip_am_ch4_p.pdfบทที่ 41.97 MBAdobe PDFView/Open
Pantip_am_ch5_p.pdfบทที่ 5802.49 kBAdobe PDFView/Open
Pantip_am_back_p.pdfบรรณานุกรม และ ภาคผนวก1.37 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.