Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/71783
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกิตติ อินทรานนท์-
dc.contributor.authorพรเทพ ขอขจายเกียรติ-
dc.date.accessioned2021-01-19T04:14:37Z-
dc.date.available2021-01-19T04:14:37Z-
dc.date.issued2531-
dc.identifier.isbn9745687324-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/71783-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2531en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อสร้างสมการที่ใช้กะประมาณค่าอัตราการใช้ออกซิเจนสูงสุดของกสิกรชายในตังหวัดขอนแก่น โดยใช้อายุ อัตราการเต้นของหัวใจ ณ ระดับความหนักของงานหนึ่งๆ และตัวแปรอิสระอื่นๆ ที่มีนัยสำคัญ 0.05 และเพื่อเปรียบเทียบค่าความสามารถสูงสุดในการทำงานโดยใช้แรงกำลังสถิตของกล้ามเนื้อหลัง แขน ขา ไหล่ และส่วนต่างๆ ของกสิกรชายที่มีช่องระหว่าง 20-24, 25-29, 30-34-, 35-39 และ 40-49 ปี พร้อมทั้งวัดสัดส่วนร่างกาย 42 สัดส่วน ผลการวิจัยพบว่าความสามารถสูงสุดในการทำงานโดยใช้แรงของกสิกรชายกลุ่มดังกล่าวจะมีค่า สูงสุดเมื่ออายุระหว่าง 20 ถึง 29 ปี และเริ่มลดลงเมื่ออายุมากขึ้น ส่งสอดคล้องกับผลงานวิจัยต่างประเทศ ส่วนสมการณ์สร้างขึ้นเพื่อกะประมาณค่าอัตราการใช้ออกเจนซีเจนสูงสุด พบว่ามีค่าความเคลื่อนคลาดมาตรฐาน ของค่ากะประมาณ ค่าผลบวกกำลังสองของความเคลื่อนคลาด และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เท่ากับ 9.38% , 7.44 และ 0.90 ตามลำดับ จากการทดสอบสมการโดยใช้ความสามารถในการใช้ออกซีเจนสูงสุดของกลุ่ม กสิกรชายอีกกลุ่มหนึ่ง พบว่าผลบวกกำลังสองของความเคลื่อนคลาดเป็น 1.47 สำหรับสมการที่ใช้กะประมาณ ค่าอัตราการใช้ออกซีเจน์ โดยมีปริมาตรของลมหายใจออกต่อนาที อัตราการเต้นของหัวใจ ณ ระดับ ความหนักของงานหนึ่งๆ และอาจเป็นตัวแปรอิสระพบว่ามีค่าความเคลื่อนคลาดมาตรฐานของค่ากะประมาณ ค่าผลบวกกำลังสองของความเคลื่อนคลาด และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เท่ากับ 3.07% 1 4.41 และ 0.95 ตามลำดับ จากการทดสอบสมการโดยใช้อัตราการใช้ออกซิเจนของกลุ่มกสิกรชายอีกกลุ่มหนึ่งพบว่าผลบวก กำลังสองของความเคลื่อนคลาดเป็น 1.85 ผลการวิจัยด้านสัดส่วนร่างกายทั้ง 42 สัดส่วน พบว่ามีค่าส่วนเสี่ยงเบนมาตรฐานอยู่ระหว่าง 0.5 ถึง 7.7 เซนติเมตร ด้านกำลังสถิตของกล้ามเนื้อหลัง ขา ไหล่ และส่วนต่างๆ ในแต่ละช่วงอายไม่มีความแตกต่างกัน แต่กำลังสถิติของกล้ามเนื้อแขนของกสิกรชายที่มีอายุระหว่าง 35-39 ปี จะมากกว่ากลุ่มที่มีอายุระหว่าง 20-24 และ 40-49 ปี อย่างนัยสำคัญ 0.05 เนื่องจากกสิกรชายกลุ่มดังกล่าวมีอาชีพทำสวน ผัก ซึ่งต้องใช้กล้ามเนื้อแขนทำงานมากจึงมีผลกระทบต่อกำลังสถิติของกล้ามเนื้อแขนมากกว่ากลุ่มที่ทำไร่ทำนาen_US
dc.description.abstractalternativeThis study was to develop a mathematical model to predict a physical work capacity (PWC) value of agricultural male works in Khon Kaen Province from age, heart rate at a work load and other independent variables based on a 0.05 significant level. The physical work capacity, static muscle strength of back, arm, standing leg, shoulder and composite muscle were also compared among 5 age ranges, i.e., 20-24, 25-29, 30-34, 35-39, and 40-49 years. Forty-two body dimensions were measured and recorded. It was found that the physical work capacity was highest for 20-29 year old group of workers and declined with ages. This complies with other foreign researchers. The standard error of estimate, the sum of the squares of the errors and correlation coefficient of the PWC predictive model were 9.38%, 7.44, and 0.90, respectively. The validation of this model using another group of subjects gave the sum of the squares of the errors was 1.47. A mathematical model was also developed to estimate an oxygen uptake values at a work load using ventilation volume, heart rate, and age as independent variables. It was found that the standard error of estimate, the sum of the squares of the errors and correlation coefficient of this equation were 3.07%, 4.41, and 0.95, respectively. The model validation was performed and the sum of the squares of the errors was 1.85. The standard deviation of 42 body dimensions were in a range of 0.5 to 7.7 centimeter. Static muscle strength of back, standing leg, shoulder, and composite muscle for each age group were not significantly different but arm strength of 35-39 years old workers are significantly higher than those of 20-24 and 40-49 years old workers. This was probably because agricultural, male workers in this age range were working as vegetable garden workers in which arms were mainly utilized. It could be concluded that the garden work type provided significantly effect on arm strength than cropping and paddy work typesen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.1988.90-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectสมรรถภาพในการทำงาน--ไทยen_US
dc.subjectแรงงานในเกษตรกรรม--ไทยen_US
dc.subjectเกษตรกร--ไทยen_US
dc.subjectขนาดร่างกาย--ไทยen_US
dc.subjectWork capacity evaluation--Thailanden_US
dc.subjectAgricultural laborers--Thailanden_US
dc.subjectFarmers--Thailand--Anthropometryen_US
dc.titleสัดส่วนร่างกายและความสามารถในการทำงานโดยใช้แรงของคนงานชายที่ทำงานกสิกรรมในจังหวัดขอนแก่นen_US
dc.title.alternativeAnthropometry and physical work capacity of agricultural male workers in Khon Kaen provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมอุตสาหการen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorKitti.I@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.1988.90-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Pornthep_kh_front_p.pdfหน้าปก บทคัดย่อ และสารบัญ939.46 kBAdobe PDFView/Open
Pornthep_kh_ch1_p.pdfบทที่ 1810.08 kBAdobe PDFView/Open
Pornthep_kh_ch2_p.pdfบทที่ 21.15 MBAdobe PDFView/Open
Pornthep_kh_ch3_p.pdfบทที่ 31.68 MBAdobe PDFView/Open
Pornthep_kh_ch4_p.pdfบทที่ 41.99 MBAdobe PDFView/Open
Pornthep_kh_ch5_p.pdfบทที่ 5708.3 kBAdobe PDFView/Open
Pornthep_kh_back_p.pdfรายการอ้างอิงและภาคผนวก4.11 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.