Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/71798
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนลิน นิลอุบล-
dc.contributor.advisorไพเราะ ปิ่นพานิชการ-
dc.contributor.authorอุษามาส วังชัยสุนทร-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2021-01-19T08:15:34Z-
dc.date.available2021-01-19T08:15:34Z-
dc.date.issued2538-
dc.identifier.isbn9746322281-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/71798-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2538-
dc.description.abstractงานวิจัยนี้เป็นการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตกรดจิบเบอเรลลิก (GA₃) ของ Gibberella fujikuroi (ซึ่งผลิต GA₃ ได้ 577 มิลลิกรัมต่อลิตร) โดยการกลายพันธุ์ด้วยแสง UV 1 รอบ และตามด้วย NTG 2 รอบ และเพิ่มอุณหภูมิสำหรับการเพาะเลี้ยง จากเดิม 25 องศาเซลเซียส เป็น 28 องศาเซลเซียส การคัดเลือกสายพันธุ์กลายพันธุ์ขั้นปฐมภูมิ ได้ตรวจสอบปริมาณ GA₃ ที่สายพันธุ์ต่าง ๆ ผลิตได้อย่างคร่าว ๆ โดยใช้วิธี TLC ตามด้วยวิธี HPTLC ด้วยวิธีดังกล่าวสามารถคัดสายพันธุ์ที่ผลิต GA₃ ต่ำกว่าสายพันธุ์ตั้งต้นออกเป็นจำนวนมาก สายพันธุ์ที่คัดเลือกไว้ในขั้นปฐมภูมิได้นำมาคัดเลือกขั้นทุติยภูมิ โดยการวิเคราะห์หาปริมาณ GA₃ ด้วย HPLC ซึ่งเป็นวิธีวิเคราะห์ที่แม่นยำ จากการคัดเลือกสายพันธุ์ที่ผลิต GA₃ สูงสุดในแต่ละขั้นตอน ได้สายพันธุ์ UV-28, UN-84 และ UNN-653 ซึ่งผลิต GA₃ ได้ 701, 909 และ 1257 มิลลิกรัมต่อลิตร ตามลำดับ ในวันที่ 7 ของการเพาะเลี้ยง และเมื่อเปลี่ยนแหล่งไนโตรเจนจากกากเมล็ดฝ้ายย่อยด้วยกรดกำมะถัน เป็นกากถั่วเหลืองที่สกัดน้ำมันออกแล้ว ได้ปริมาณ GA₃ 1095, 1051 และ 1396 มิลลิกรัมต่อลิตร ในวันที่ 7 ของการเพาะเลี้ยง จากการทดสอบประสิทธิภาพการผลิต GA₃ ในถังหมักขนาด 5 ลิตร ของสายพันธุ์ UNN-65₃ พบว่าผลิต GA₃ ได้ 1310 มิลลิกรัมต่อลิตร ในวันที่ 7 ของการเพาะเลี้ยง นอกจากนี้ในงานวิจัยยังพบว่า การกลายพันธุ์ด้วย NTG จะได้สายพันธุ์ที่เสถียรกว่าการกลายพันธุ์ด้วยแสง UV-
dc.description.abstractalternativeGA₃ producing ability of Gibberella fujikuroi N9-34, a strain capable to produce GA₃ of 577 mg/l, was increased by mutating this organism with UV in the first step and following by 2 consecutive steps with NTG. The cultivation temperature for GA₃ production was also increased from 25 ℃ to 28 ℃. Primary screening for ability to produce GA₃ of the mutants was by TLC following by HPTLC. Using these techniques, several strains with low GA₃ producing ability were eliminated. The selected strains were further secondary screened for GA₃ producing by HPLC, an accurate method for GA₃ determination. Mutant strains namely UV-28, UN-84 and UNN-653 capable to produce GA₃ of 701, 909 and 1257 mg/l, respectively, on day 7 were selected from each mutation step. When cottoned hull hydrolysate was replaced by defatted soybean meal as a N-source in a culture medium, GA3 production by these strains on day 7 were 1095, 1051 and 1396 mg/l, respectively. Cultivation of UNN-653 in a 5-1 fermenter yielded 1310 mg of GA₃/l on 7 day. The present work also observed that mutants from NTG treatment were more stable than that from UV treatment.-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subjectกรดจิบเบอเรลลิก-
dc.subjectการเพาะเลี้ยง-
dc.subjectGibberellic acid-
dc.subjectCultures (Biology)-
dc.titleการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตจิบเบอเรลลินของ Gibberella fujikuroi N9-34 โดยการกลายพันธุ์-
dc.title.alternativeImprovement of gibberellin production by Gibberella fujikuroi N9-34 through mutation-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineเทคโนโลยีชีวภาพ-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Usamas_wa_front.pdfหน้าปก สารบัญ และบทคัดย่อ16.49 MBAdobe PDFView/Open
Usamas_wa_ch1.pdfบทที่ 120.73 MBAdobe PDFView/Open
Usamas_wa_ch2.pdfบทที่ 212.72 MBAdobe PDFView/Open
Usamas_wa_ch3.pdfบทที่ 348.95 MBAdobe PDFView/Open
Usamas_wa_ch4.pdfบทที่ 46.68 MBAdobe PDFView/Open
Usamas_wa_back.pdfบรรณานุกรมและภาคผนวก21.25 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.