Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/71827
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวลัยพร เหมะรัชตะ-
dc.contributor.advisorสุวรรณา เกรียงไกรเพ็ชร์-
dc.contributor.authorสุชาดา พงศ์พันธ์-
dc.date.accessioned2021-01-19T18:01:35Z-
dc.date.available2021-01-19T18:01:35Z-
dc.date.issued2531-
dc.identifier.isbn9745689661-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/71827-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (อ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2531en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อวิเคราะห์เนื้อหา ผู้เขียน และแหล่งอ้างอิงของบทความในวารสารวิชาการสาขาวัฒนธรรม พ.ศ. ๒๕๒๒-๒๕๒๙ มีสมมติฐานในการวิจัย ๓ ข้อ คือ ๑) วารสารสาขาวัฒนธรรมที่นำมาวิเคราะห์เนื้อหา เสนอเนื้อหาในหัวข้อเกี่ยวกับขนบประเพณีมากที่สุด ๒) ผู้เขียนบทความส่วนใหญ่ เป็นผู้ทรงคุณวุฒิ ๓) แหล่งอ้างอิงของบทความส่วนใหญ่ เป็นแหล่งข้อมูลปฐมภูมิ สำหรับประชากรในการวิจัย คือบทความจำนวน ๑๙๕๑ บทความในวารสารวัฒนธรรมไทย วารสารเมืองโบราณ และวารสารศิลปวัฒนธรรม ผลการวิจัยพบว่า วารสารวัฒนธรรมไทย เสนอเนื้อหาเกี่ยวกับขนบประเพณีมากที่สุด ซึ่งสอดคล้อง กับสมมติฐานข้อ ๑ รองลงมาคือพัฒนาการทางวัฒนธรรมและศิลปะ น้อยที่สุดคือ การสร้างวัฒนธรรม วารสารเมืองโบราณเสนอเนื้อหาเกี่ยวกับศิลปะมากที่สุด รองลงมาคือ ประวัติศาสตร์และโบราณคดี น้อยที่สุด คือประวัติของวัฒนธรรมและการสร้างวัฒนธรรม วารสารศิลปวัฒนธรรมเสนอเนื้อหาเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ และโบราณคดีมากที่สุด รองลงมาคือ ภาษาและวรรณคดี และศิลปะ น้อยที่สุดคือจิตวิทยา เมื่อจำแนกเนื้อหาของบทความตามปีที่พิมพ์ พบว่า พ.ศ. ๒๕๒๒-๒๕๒๔ มีเนื้อหาศิลปะมากที่สุด พ .ศ .๒๕๒๕- ๒๕๒๘ มีเนื้อหาประวัติศาสตร์และโบราณคดีมากที่สุด พ.ศ. ๒๕๒๙ มีเนื้อหาพัฒนาการทางวัฒธรรมมากที่สุด ผู้เขียน บทความส่วนใหญ่ เป็นผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งสอดคล้องกับสมมติฐานข้อ ๒ โดยมีการศึกษาตั้งแต่ปริญญาตรีจนถึง ปริญญาเอก ส่วนตำแหน่งหน้าที่การงานเป็นอาจารย์ ข้าราชการ นักวิจัย นักเขียนและบรรณาธิการ ผู้ปฏิบัติงานด้านวัฒนธรรมและอาชีพอื่น ๆ นอกจากนี้แล้วแหล่งอ้างอิงส่วนใหญ่เป็นแหล่งข้อมูลทุติยภูมิ ซึ่งไม่สอดคล้องกับสมมติฐานข้อ ๓ เนื่องจากมีการอ้างถึงหนังสือมากที่สุด รองลงมาคือบทความวารสาร น้อยที่สุดคือ รายงานการขุดค้นทางโบราณคดี-
dc.description.abstractalternativeThis study aimed at analyzing contents, writers, and sources of reference of articles in cultural periodicals, 1979-1986, The three hypotheses were: 1) the content presented mostly in institution 2) the writers mostly were authorities 3) sources of reference mostly were primary sources. Population of the research were 1951 articles in 3 cultural periodicals named Wathanatham-Thal, Muang Boran, and Sinlapa-Wathanatham, The results of this study were that Wathanatham-Thai presented the content mostly in the institution which relevant to the first hypothesis. Muang Boran presented the content mostly in art; cultural history; cultural creation successively. Sinlapa- Wathanatham presented the content mostly in history and archaeology; language and literature; psychology successively. In dividing the content of articles by year, it was found that in 1979-1986, the content was mostly in art; in 1982-1985, the contents were mostly in history and archaeology; and in 1986 was cultural development. Most of the writers were authorities which relevant to the second hypothesis. The writers graduated from bachelor degree to doctoral degree. The position of the writers were teachers, government officials, researchers, writers and editors, cultural personnels, and others. Moreover, the sources of reference were secondary sources, mostly in books, articles, reports on archaeological excavation, which irrelevant to the third hypothesis.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.1988.93-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการวิเคราะห์เนื้อหาen_US
dc.subjectวัฒนธรรม--วารสารen_US
dc.subjectวารสารไทยen_US
dc.subjectContent analysis (Communication)en_US
dc.subjectCulture--Periodicalsen_US
dc.subjectThai periodicalsen_US
dc.titleการวิเคราะห์เนื้อหาบทความในวารสารสาขาวัฒนธรรม พ.ศ. 2522-2529en_US
dc.title.alternativeContent analysis of articles in cultural periodicals, 1979-1986en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameอักษรศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineบรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
dc.email.advisorSuvanna.K@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.1988.93-
Appears in Collections:Arts - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Suchada_fo_front_p.pdfหน้าปก บทคัดย่อ และสารบัญ924.08 kBAdobe PDFView/Open
Suchada_fo_ch1_p.pdfบทที่ 1908.99 kBAdobe PDFView/Open
Suchada_fo_ch2_p.pdfบทที่ 21.22 MBAdobe PDFView/Open
Suchada_fo_ch3_p.pdfบทที่ 3802.87 kBAdobe PDFView/Open
Suchada_fo_ch4_p.pdfบทที่ 43.27 MBAdobe PDFView/Open
Suchada_fo_ch5_p.pdfบทที่ 51.03 MBAdobe PDFView/Open
Suchada_fo_back_p.pdfรายการอ้างอิงและภาคผนวก7.24 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.