Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/72128
Title: การกักเรือตามกฎหมายไทยเปรียบเทียบกับหลักกฎหมายระหว่างประเทศ
Other Titles: Arrest of vessels under Thai law : comparison with international law
Authors: สงคราม วัฒนะรัตน์
Advisors: ชยันติ ไกรกาญจน์
จุฬา สุขมานพ
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
Advisor's Email: ไม่มีข้อมูล
ไม่มีข้อมูล
Subjects: การกักเรือ
กฎหมายระหว่างประเทศ
พระราชบัญญัติการกักเรือ พ.ศ. 2534
อนุสัญญาบรัสเซลว่าด้วยการกักเรือเดินทะเล ลงวันที่ 10 พฤษภาคม ค.ศ. 1952
Issue Date: 2540
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: วิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อค้นคว้าหาหลักเกณฑ์ซึ่งได้รับการยอมรับในสากลเกี่ยวกับกฎหมายว่าด้วยการกักเรือเดินทะเล และค้นหาปัญหาข้อขัดข้องที่เกิดจากการบัญญติกฎหมายว่าด้วยการกักเรือของไทย ซึ่งไม่สอดคล้องกับหลักกฎหมายระหว่างประเทศ จากการศึกษาวิจัย พบว่าบทบัญญัติของพระราชาบัญญัติการกักเรือ พ.ศ. 2534 ที่ไม่สอดคล้องกับหลักกฎหมายระหว่างประเทศอันถือเป็นหลักเกณฑ์สากล ได้แก่ บทบัญญัติในเรื่องคุณสมบัติของเจ้าหนี้ผู้ยื่นคำร้องขอให้กักเรือ สิทธิเรียกร้องที่เป็นมูลเหตุในการขอให้กักเรือประเภทของเรือที่จะถูกกักได้ ตลอดจนเรื่องเขตอำนาจศาล ผลการวิจัยพบว่า ควรจะมีการแก้ไขปรับปรุงพระราชบัญญติการกักเรือ พ.ศ. 2534 ในประเด็นต่าง ๆ ดังนี้ 1. เปิดโอกาสให้เจ้าหนี้ที่มีภูมิลำเนาอยู่นอกราชอาณาจักรสามารถร้องขอให้กักเรือได้ในประเทศไทย 2. เพิ่มเติมสิทธิเรียกร้องอันเป็นมูลเหตุในการขอให้กักเรือบางประการ 3. ขยายสิทธิในการกักเรือให้สามารถกักเรือประเภทที่เกี่ยวข้องกับสิทธิเรียกร้องโดยตรงได้แม้จะได้มีการโอนเรือดังกล่าวไปยังบุคคลภายนอกแล้ว
Other Abstract: The purposes of this thesis is to discover the internationally-accepted rules relating to arrest of sea-going vessels and to observe any obstacles arisen from uncompatibility of Thai legal provisions and the international laws According to this research, it is found that some provisions of Arrest of vessels Act of B.E. 2534 are inconsistent with the international laws which are deemed universal. Those provisions are related to qualification of a claimant who can request for an arrest, the scope of maritime claims, types of the arrestable ship and jurisdiction. This thesis thereby provides recommendations for amendment in some aspects of Arrest of vessel Act as follows : 1. To entitle the claimant domicile abroad to apply for arrest of vessels in Thailand. 2. To expand the scope of the rights falling within the meaning of “maritime claim”. 3. To extend the right to arrest the particular ship, although the ship was later transferred to third party.
Description: วิทยานิพนธ์ (น.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2540
Degree Name: นิติศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาโท
Degree Discipline: นิติศาสตร์
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/72128
ISBN: 9746386948
Type: Thesis
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Songkram_va_front_p.pdf955.82 kBAdobe PDFView/Open
Songkram_va_ch1_p.pdf509.3 kBAdobe PDFView/Open
Songkram_va_ch2_p.pdf7.77 MBAdobe PDFView/Open
Songkram_va_ch3_p.pdf11.21 MBAdobe PDFView/Open
Songkram_va_ch4_p.pdf731.11 kBAdobe PDFView/Open
Songkram_va_back_p.pdf2.2 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.