Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/72134
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอารง สุทธาศาสน์-
dc.contributor.authorอลิสา หะสาเมาะ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะรัฐศาสตร์-
dc.date.accessioned2021-02-05T03:28:04Z-
dc.date.available2021-02-05T03:28:04Z-
dc.date.issued2543-
dc.identifier.isbn9743464123-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/72134-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (สค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาความสำนึกในเอกลักษณ์ทางชาติพันธุ์ของชาวไทยมุสลิมในชุมชนรือเสาะ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลครั้งนี้ เป็แบบสอบถาม รวมทั้งการสัมภาษณ์ระดับลึกและการสังเกตการณ์อย่างมีส่วนร่วมในชุมชนสำหรับกลุ่มตัวอย่างของประชากรที่อยู่ใน ต. รือเสาะ อ. รือเสาะ จ. นราธิวาส ซึ่งประชากรกลุ่มนี้จะมีทั้งผู้ใหญ่บ้าน อิหม่าม คอเต็บ บิหลั่น คณะกรรมการหมู่บ้าน และประชาชนที่ประกอบอาชีพต่าง ๆ จำนวน 200 คน สำหรับสถิติที่ใช่ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ ใช่วิธีการหาค่าจำนวน (Frequency) หาค่าเฉลี่ย (Mean) ส่วนเบี่ยงเบนมาตราฐาน (Standard Deviation) Pearson’s chi-square (X2) สัมประสิทธิ์ Contingency Coefficient (C) สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบสเปียร์แมน (Rf10) และเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยกับเกณฑ์ที่ตั้งไว้ ผลการวิจัยพบว่า ความสำนึกในเอกลักษณ์ทางชาติพันธุ์ของชาวไทยมุสลิมในชุมชนรือเสาะส่วนใหญ่ พบว่า มีความสำนึกในเอกลักษณ์ทางชาติพันธ์อยู่ในระดับสูง เนื่องมาจากความสัมพันธ์อันเหนียวแน่นที่มาจากการนับถือศาลนาเดียวกัน มีหลักการทางศาลนาที่กำหนดวิถีชีวิตความเป็นอยู่ของมุสลิม ซึ่งได้กำหนดไว้อย่างละเอียดทุกแง่ทุกมุม มีการรวมกลุ่มกันอย่างเหนียวแน่น มีความรู้สึกผูกพันทางด้านศาสนาสูง และมีเอกลักษณ์พิเศษที่ปรากฎออกมาคือ เอกลักษณ์ด้านวัฒนธรรม ประเพณี ศาสนา ความเชื่อ ภาษามาลายูท้องถิ่น และแม้กระทั้งความสำนึกในทางประวัติศาสตร์ และเนื่องจากศาลนาอิสลามสร้างสรรค์ความผูกพันของกลุ่มมุสลิมในอยู่ร่วมกัน และจะต้องปฏิบัติศาสนกิจร่วมกัน ซึ่งในขณะเดียวกันก็สร้างสังคมและวัฒนธรรมที่เป็นแบบฉบับของตนเองตามแนวทางของศาสนาอิสลาม ผลการวิจัยสรุปได้ว่า ความสำนึกในเอกลักษณ์ทางชาติพันธุของชาวไทยมุสลิมในชุมชนรอเลาะ มีจิตสำนึกในเอกลักษณ์ทางชาติพันธุส่วนใหญ่อยู่ในระดับสูง มีการแสดงออกอย่างเด่นชัดในเรื่องของการใช้ภาษาพูด คือ ภาษามาลายูท้องถิ่น และการใช่ภาษาที่มีความเกี่ยวข้อลับศาสนา นั้นคือ ภาษายาวี การแต่งกายตาม ลักษณะเฉพาะ ที่แบ่งแยกกันอย่างชัดเจน จากชาวไทยพุทธ รวมทั้งความสำนึกในเอกลักษณ์ทางชาติพันธุ์ที่ปรากฏออกมาเป็นความขัดแย้งในรูปแบบต่าง ๆ เช่น การสื่อภาษา ทั้งภาษาพูดและภาษาเขียน กับทั้งหน่วยงานของรัฐบาล และเอกชน จึงทำให้เกิดความไม่เข้าใจซึ่งกันและกัน แต่ในปัจจุบันมีความสัมพันธ์เป็นไปในทิศทางที่ดีขึ้นเนื่องจากมุสลิมในภาคใต้มีการศึกษาเพิ่มขึ้น และยังมีหน่วยงาน ศอ.บต. เข้าไปช่วยประสานความ สัมพันธ์ระหว่างประชาชนกับข้าราชการen_US
dc.description.abstractalternativeThis research is aimed to study the consciousness of ethnic identity of the Thai Muslims in Rueso Community. The instrument for collecting data is primarily questionnaire together with In - dept interview and participatory observation. The sample of this sturdy is drawn from the population of Rueso district, the province of Naratiwas, with the size 200. Appropriate statistical operation are used for the analysis of the data where necessary. The finding of the Research reveals that the consciousness of ethnic identity of the sample is relatively high due to a close relationship based on the worships of the same religion which determines the Muslims’ way of life in most details and, in addition, is strengthened by the consciousness of Malay Language, long history, and related tradition. All of the consciousness has resulted in negative relations with the rest of the society which is mainly Thai Buddhists. But the whole situations have been developed in a positive way and is at present at a favorable condition. Finally, the Center of the Director of the Administration of the Bodoring Provinces known as Sor. Or. Bor. Tor., and related organizations have played constructive roles in improving the situations.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectเอกลักษณ์ชาติพันธุ์ -- ไทย (ภาคใต้)en_US
dc.subjectชาวไทยมุสลิม -- ไทย (ภาคใต้)en_US
dc.subjectชนกลุ่มน้อย -- ไทย (ภาคใต้)en_US
dc.subjectชาวไทยมุสลิม -- ความเป็นอยู่และประเพณีen_US
dc.titleความสำนึกในเอกลักษณ์ทางชาติพันธุ์ของชาวไทยมุสลิมในชุมชนเรือเสาะen_US
dc.title.alternativeThe consciousness of ethic identity of Thai Muslims in Rueso communityen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameสังคมวิทยามหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineสังคมวิทยาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Pol - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Alisa_ha_front_p.pdfหน้าปก สารบัญ และบทคัดย่อ874.93 kBAdobe PDFView/Open
Alisa_ha_ch1_p.pdfบทที่ 11.32 MBAdobe PDFView/Open
Alisa_ha_ch2_p.pdfบทที่ 21.14 MBAdobe PDFView/Open
Alisa_ha_ch3_p.pdfบทที่ 3801.76 kBAdobe PDFView/Open
Alisa_ha_ch4_p.pdfบทที่ 44.5 MBAdobe PDFView/Open
Alisa_ha_ch5_p.pdfบทที่ 52.37 MBAdobe PDFView/Open
Alisa_ha_ch6_p.pdfบทที่ 6692.25 kBAdobe PDFView/Open
Alisa_ha_back_p.pdfบรรณานุกรมและภาคผนวก2.75 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.