Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/72152
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพิพัฒน์ พัฒนผลไพบูลย์-
dc.contributor.advisorนวลศรี กาญจนกูล-
dc.contributor.authorศรีศักดิ์ ธานี-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2021-02-05T06:40:20Z-
dc.date.available2021-02-05T06:40:20Z-
dc.date.issued2540-
dc.identifier.isbn9746389076-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/72152-
dc.descriptionสารนิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2540en_US
dc.description.abstractการศึกษาการหมุนเวียนธาตุอาหารในป่าดิบแล้งธรรมชาติและป่าดิบแล้งที่กำลังคืนสภาพป่า บริเวณเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเขาอ่างฤาไน จังหวัดฉะเชิงเทรา พบว่าในป่าดิบแล้งธรรมชาติ มีพันธุ์ไม้ 60 ชนิด ใน 31 วงศ์ ความหนาแน่นเฉลี่ยเท่ากับ 1684 ต้นต่อเฮกแตร์ ไม้เด่นที่มี DBH มากว่า 4.5 เซนติเมตร ได้แก่ ตะแบก (Lagerstroemia calyculata) สามพันตา (Sampantaea amentiflora) และกระเบากลัก (Hydnocarpus ilicifolius) ส่วนในป่าดิบแล้งที่กำลังคืนสภาพป่า มีพันธุ์ไม้ 57 ชนิด ใน 30 วงศ์ มีความหนาแน่นเฉลี่ยเท่ากับ 1017 ต้นต่อเฮกแตร์ ไม้เด่นได้แก่ ตะแบก (L.calyculata) กัดลิ้น (Walsura robusta) การเวก (Artabotrys siamensis) ปริมาณการสะสมธาตุอาหารในระบบหมุนเวียน (ดินและพืช) ในป่าดิบแล้งทั้งสองสภาพป่า พบว่าธาตุ N, Ca และMg สะสมมากในเนื้อดินลึก 0 - 100 เซนติเมตร แต่ธาตุ P และ K สะสมมากในมวลชีวภาพของพืช ป่าดิบแล้งธรรมชาติมีธาตุอาหาร N, P, K, Ca และ Mg สะสม 6991.31, 94.23, 1248.92, 10308.07 และ 4596.76 kg/ha ตามลำดับ ส่วนในป่าดิบแล้งที่กำลังคืนสภาพป่ามีธาตุอาหาร N, P, K, Ca และ Mg สะสมเท่ากับ 7690.84, 105.53, 2733.84, 12370.45 และ 6635.49 kg/ha ตามลำดับ ในระบบการหมุนเวียนธาตุอาหารของป่าดิบแล้งธรรมชาติ พบว่าในรอบปีพืชมีการดูดซับ N, P, K, Ca และ Mg เท่ากับ 147.84, 7.29, 65.89, 276.40 และ 32.85 kg/ha ตามลำดับ และปลดปล่อยธาตุอาหารดังกล่าวจากการย่อยสลายของซากพืชทั้งหมดเท่ากับ 141.31, 5.86, 37.51, 232.17 และ 31.54 kg/ha ตามลำดับ ธาตุ N, P, K, Ca และ Mg สูญเสียจากดิน เท่ากับ 6.53, 1.43, 28.38, 44.23 และ 1.31 kg/ha ตามลำดับ ในรอบปีมีธาตุอาหาร N, P, K, Ca และ Mg เก็บกักในมวลชีวภาพของพืชเท่ากับ 32.80, 2.34, 27.01, 80.29 และ 8.51 kg/ha/year ตามลำดับ ส่วนในป่าดิบแล้งที่กำลังคืนสภาพป่า พืชมีการดูดซับ N, P, K, Ca และ Mg เท่ากับ 122.66, 9.82, 83.63, 186.10 และ 31.68 kg/ha ตามลำดับ และปลดปล่อยธาตุอาหารดังกล่าวเท่ากับ 138.26, 9.12, 33.77, 205.71 และ 29.95 kg/ha ตามลำดับ ธาตุ P, K, และ Mg ที่สูญเสียจากดินเท่ากับ 0.70, 49.86 และ 1.73 kg/ha ตามลำดับ และมีธาตุ N และCa ปลดปล่อยเพิ่มให้กับดิน เท่ากับ 15.60 และ 19.61 kg/ha และ N, P, K, Ca และ Mg เก็บกักในมวลชีวภาพของพืช เท่ากับ 30.00, 2.18, 52.78, 50.12 และ 10.60 kg/ha/year ตามลำดับen_US
dc.description.abstractalternativeNutrient circulation of natural dry evergreen forest and secondary dry evergreen forest at Khao Ang Ru Nai Wildlife Sanctuary, Chachoengsao Provice was studied. There were 60 tree species, 31 families and tree density was 1684 stem/ha in natural dry evergreen forest. The dominant tree species with diameter at breast height (DBH) more than 4.5 cm. were Tabaek (Lagerstroemia calyculata), Saam pan taa (Sampantaea amentiflora), and Krabao klak (Hydnocarpus ilicifolius). In secondary dry evergreen forest, there were 57 tree species, 30 families and tree density were 1017 stem/ha. The dominant tree species was Tabaek (L. calyculata), Kat lin (Walsura robusta) and Kaarawek (Artabotrys siamensis) Nutrient accumulation in soil and plant of both types of forest indicated that most of N, Ca and Mg were accumulated in soil at depth of 0 - 100 cm as where P and K accumulated in plant biomass. Natural dry evergreen forest collected N, P, K, Ca and Mg in quantity of 6991.31, 94.23, 1248.92, 10308.07 and 4596.76 Kg/ha, respectively, and 7690.84, 105.53, 2733.84, 12370.45 and 6635.49 kg/ha for secondary dry evergreen forest respectively. In natural dry evergreen forest, annual nutrient circulation, total nutrient uptake rates of N, P, K, Ca and Mg were 147.84, 7.29, 65.89, 276.40 and 32.85 kg/ha, respectively. Total nutrient releasing from litter decomposition were 141.31, 5.86, 37.51, 232.17 and 31.54 kg/ha, respectively. N, P, K, Ca and Mg were lost from soil in amout of 6.53, 1.43, 28.38, 44.23 and 1.31 kg/ha. N, P, K, Ca and Mg kept in plant biomass were 32.80, 2.34, 27.01, 80.29 and 8.51 kg/ha/year, respectively. For secondary dry evergreen forest, total nutrient uptake rates of N, P, K, Ca and Mg were 122.66, 9.82, 83.63, 186.10 and 31.68 kg/ha, respectively. Total nutrient releasing were 138.26, 9.12, 33.77, 205.71 and 29.95 kg/ha, respectively. P, K, and Mg as lost from soil in amont of 0.70, 49.86 and 1.73 kg/ha, respectively, 15.60 and 19.61 kg/ha, of N and Ca was added to soil. And those nutrients were collected in plant biomass, 30.00, 2.18, 52.78, 50.12 และ 10.60 kg/ha/year, respectively.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการอนุรักษ์สัตว์ป่า-
dc.subjectการอนุรักษ์ป่าไม้-
dc.subjectWildlife conservation-
dc.subjectForest conservation-
dc.titleการหมุนเวียนธาตุอาหารของป่าดิบแล้งธรรมชาติ และป่าดิบแล้งที่กำลังคืนสภาพป่า บริเวณเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเขาอ่างฤาไน จังหวัดฉะเชิงเทราen_US
dc.title.alternativeNutrient circulation of natural dry evergreen forest and secondary dry evergreen forest at Khao Ang Ru Nai Wildlife Sanctuary, Chachoengsao Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineพฤกษศาสตร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Srisak_th_front_p.pdfหน้าปก สารบัญ และบทคัดย่อ813.83 kBAdobe PDFView/Open
Srisak_th_ch1_p.pdfบทที่ 1289.53 kBAdobe PDFView/Open
Srisak_th_ch2_p.pdfบทที่ 2738.08 kBAdobe PDFView/Open
Srisak_th_ch3_p.pdfบทที่ 31.37 MBAdobe PDFView/Open
Srisak_th_ch4_p.pdfบทที่ 41.71 MBAdobe PDFView/Open
Srisak_th_ch5_p.pdfบทที่ 52.21 MBAdobe PDFView/Open
Srisak_th_ch6_p.pdfบทที่ 6516.07 kBAdobe PDFView/Open
Srisak_th_back_p.pdfบรรณานุกรมและภาคผนวก2.76 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.