Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/72309
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorดำรง ทวีแสงสกุลไทย-
dc.contributor.authorสุวิทย์ กล่ำเพ็ง-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2021-02-15T09:45:18Z-
dc.date.available2021-02-15T09:45:18Z-
dc.date.issued2543-
dc.identifier.isbn9743469923-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/72309-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543en_US
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์ฉบับนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อกำหนดและควบคุมปัจจัยคุณภาพที่มีผลกระทบต่อการพ่นสีรถยนต์ ซึ่งจะใช้การ.วิเคราะห์จากปัญหาทั้งหมดที่เกิดขึ้นในกระบวนการพ่นสีรถยนต์ และทำการคัดเลือกปัญหาที่เกิดขึ้นมากที่สุด 2 อันดับแรกคือ ปัญหาฝุ่นและสิ่งสกปรกในผิวสี และปัญหาสีเกิดรอยด่างนำมาทำการแก้ไข โดยอาศัยแผนภาพเหตุและผล เป็นเครื่องมือช่วยหาสาเหตุของการเกิดปัญหาทั้ง 2 เหล่านั้น จากนั้นก็จะทำการเลือกหัวขอสาเหตุของปัญหาเพื่อทำการแก้ไข โดยใช้หลักการของการระดมความคิดจากผู้เชี่ยวชาญ หลังจากนั้นก็เริ่มทำการแก้ไขโดยอาศัยเทคนิคทางการควบคุมคุณภาพทางสถิติ (SQC) เช่น ใบ Check Sheet, กราฟ, พาเรโตไดอะแกรม เป็นต้น และการออกแบบการทดลอง เพื่อทำการแก้ไขเรียบร้อยแก้ว ก็จะทำการติดตามผลพร้อมทั้งเก็บข้อมูลเพื่อประเมินประสิทธิภาพการแก้ไข โดยจะทำการประเมินผลหลังจากการแก้ไข 5 เดือน โดยเริ่มตั้งแต่เดือน มีนาคม 2543 ถึง กรกฎาคม 2543 ซึ่งจะเปรียบข้อมูลก่อนการปรับปรุง ในวิทยานิพนธ์ฉบับนี้จะมุ่งเน้นการแก้ไขปัญหาที่มีระดับความสำคัญมากที่สุดโดยดูจากเปอร์เซ็นต์ข้อบกพร่องที่เกิดขึ้นในการพ่นสีรถยนต์มากที่สุด ผลการดำเนินการแก้ไขทำให้จำนวนของเสียโดยรวมในกระบวนการพ่นสีลดลงอย่างต่อเนื่อง จากเดือนสุดท้ายก่อนการปรับปรุงมีค่าเท่ากับ 10.88 แผล/คันเหลือ 6.22 แผล/คัน ของเดือนสุดท้ายของการประเมินผล ปัญหาฝุ่นและสิ่งสกปรกในผิวสีมีเปอร์เซ็นต์ NG ลดลงอย่างต่อเนื่อง จากเดือนสุดท้ายก่อนการปรับปรุงมีค่าเท่าคับ 3.34 % เหลือ 1.53 % ของเดือนสุดท้ายของการประเมินผล และปัญหาสีเกิดรอยด่าง มีเปอร์เซ็นต์ของเสีย ลดลงอย่างต่อเนื่องเช่นเดียวกัน จากเดือนสุดท้ายก่อนการปรับปรุงมีค่าเท่าคับ 1.56 % เหลือ 0.28 % ของเดือนสุดท้ายของการประเมินผล หลังจากทำการแก้ไขปัญหาจนลดลงแก้ว ก็จะยึดถือเป็นแนวทางการปฏิบัติในกระบวนการพ่นสีอย่างต่อเนื่อง ต่อไป และในบางหัวข้อที่ไม่ได้ทำการแก้ไขก็จะกำหนดเป็นข้อเสนอแนะเพื่อเป็นแนวทางในการแก้ไขในอนาคตต่อไปen_US
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this thesis is appointing and controlling the automotive painting quality factors by using analysis form all problem in process of automotive painting. And to pick and choose define priority first and second problem. The first problem is Dust and Anything Dirty in color film and second problem is Color Mottling after that to solve this two problem by using Causes and Effect Diagrams is quality tool. After that, define cause of problem with be to solve problem by using Brain Storming method. Begin solve problem by using quality tool (SQC) is Check sheet, Graph, Pareto Diagrams and Design of Experiment. After that, follow and evaluate data for solved problem by evaluate data five months, since March'00 to Juiy’00 is compare before and after solved problem. This thesis will be solve high priority problem to analyze percent of defect in automotive painting. After the corrective action is made, defect of paint decrease continuously from last month before improvement from 10.88 defect per unit to 6.22 defect per unit of last month after improvement Dust and Anything Dirty in color film problem defect percent decrease continuously from last month before improvement from 3.34 % to 1.53 % of last month after improvement and Color Mottling problem NG percent decrease continuously from last month before improvement from 1.56 % to 0.28 % of last month after improvement After solve problem until finish afterward fix is regularly work continuously and other cause to point out trend in future.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectรถยนต์ -- การพ่นสีen_US
dc.subjectการควบคุมคุณภาพen_US
dc.titleการวิเคราะห์และควบคุมปัจจัยคุณภาพ ที่มีผลกระทบต่อการพ่นสีรถยนต์en_US
dc.title.alternativeAnalysis and control of quality factors for automotive paintingen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมอุตสาหการen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Suwit_kl_front_p.pdfหน้าปก สารบัญ และบทคัดย่อ912.27 kBAdobe PDFView/Open
Suwit_kl_ch1_p.pdfบทที่ 1739.13 kBAdobe PDFView/Open
Suwit_kl_ch2_p.pdfบทที่ 21.05 MBAdobe PDFView/Open
Suwit_kl_ch3_p.pdfบทที่ 32.3 MBAdobe PDFView/Open
Suwit_kl_ch4_p.pdfบทที่ 42.07 MBAdobe PDFView/Open
Suwit_kl_ch5_p.pdfบทที่ 52.27 MBAdobe PDFView/Open
Suwit_kl_ch6_p.pdfบทที่ 6761.58 kBAdobe PDFView/Open
Suwit_kl_ch7_p.pdfบทที่ 7862.1 kBAdobe PDFView/Open
Suwit_kl_back_p.pdfบรรณานุกรมและภาคผนวก4.15 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.