Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/72369
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | อมร เพชรสม | - |
dc.contributor.author | ภารดี กมลานนท์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.date.accessioned | 2021-02-23T09:06:33Z | - |
dc.date.available | 2021-02-23T09:06:33Z | - |
dc.date.issued | 2541 | - |
dc.identifier.isbn | 9743324425 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/72369 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2541 | en_US |
dc.description.abstract | งานวิจัยนี้ได้ศึกษาการบำบัดฟลักซ์เสื่อมสภาพจากอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อหาวิธีการบำบัดฟลักซ์เสื่อมสภาวิธีใหม่ที่เหมาะสมและเป็นไปได้ เพื่อให้ได้ผลิตภัณฑ์ที่เกิดจากการบำบัดสามารถนำกลับมาใช้ประโยชน์ได้อีก งานวิจัยนี้ได้ศึกษาวิธีการบำบัดฟลักซ์เสื่อมสภาพทั้งหมด 6 วิธี ได้แก่ การดูดซับด้วยแอคคิเวเตดคาร์บอน การกลั่นด้วยไอน้ำ การกลั่นแบบลดความดัน การเผาการบำบัดโดยใช้โอโซน และไฮโดรจิเนชัน ผลการทดลองพบว่า การดูดซับด้วยแอคติเวเตดคาร์บอนไม่สามารถบำบัดสีของฟลักซ์เสื่อมสภาพได้ การกลั่นด้วยไอน้ำวิธีนี้จะทำให้ฟลักซ์เสื่อมสภาพอ่อนตัวลง สามารถแยกแอคติเวเตอร์ ยางสน และตัวทำละลายวออกจากกันได้ แต่ยางสนจะสลายตัวบางส่วนเมื่อได้รับความร้อน ตัวทำละลายที่ได้มีกลิ่นยางสนทำให้ไม่สามารถนำกลับมาใช้ใหม่ได้และแอคติเวเตอร์ที่แยกได้จะปนอยู่ในน้ำและมีปริมาณน้อยมากทำให้ไม่คหุ้มที่จะแยกแล้วนำกลับมาใช้ใหม่ การกลั่นแบบลดความดัน ไม่สมารหถแยกฟลักซ์เสื่อมสภาพออกมาได้เป็นส่วนๆ ได้เนื่องจากฟลักซ์เสื่อมสภาพสลายตัวเมื่อได้รับความร้อน การเผาฟลักซ์เสื่อมสภาพจะเกิดควันขาวขึ้น การบำบัดฟลักซ์เสื่อมสภาพโดยใช้โอโซนและออกซิเดชัน วิธีน้ำสามารหถบำบัดฟลักซ์เสื่อมสภาพได้ผลดี สีของฟลักซ์เสื่อมสภาพจางลงจากสีน้ำตาลเข้มเป็นสีเหลืองอ่อน ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากกการบำบัดอาจนำไปใช้เป็นแอคติเวเตอร์ตัวใหม่ที่มีหมู่ -COOH 3หมู่ แต่เมื่อนำผลิตภัณฑ์ที่ได้ไปใช้ในการบัดกรีพบว่าเกิดคราบสีน้ำตาลบนชิ้นงาน และการบำบัดฟลักซ์เสื่อมสภาพโดยไฮโดรจิเนชันพบว่าได้ผลดีที่สุด โดยสภาวะที่ใช้คือใช้ตัวเร่งปฏิกิริยาคือ พลัลาเดียม 10% บนแอคติเวเตดชาโคล และสภาวะที่เหมาะสมคือ อุณหภูมิ 100 องศาเซลเซียส ความดัน 450 ปอนด์ต่อตารางนิ้ว เป็นเวลา 12 ชั่วโมง และอัตราส่วนที่เหมาะสมของตัวเร่งปฏิกิริยาและฟลักซ์เสื่อมสภาพคือ 1:200 ฟลักซ์เสื่อมสภาพที่ได้จากการบำบัดเปลี่ยนสีจากสีน้ำตาลเข้มเป็นผลิตภัณฑ์สีเหลืองอ่อน ไม่มีกลิ่น | en_US |
dc.description.abstractalternative | This research investigated the treatment of waste flux in the electronic industry by comparing 6 methods : treatment with activated corbon, steam distillation, vacuum distillation, open air burning, ozone treatment and catalytic hydrogenation. It was found that activated carbon could not decolorize waste flux. Steam distillation could separate activators, rosin and solvent. The rosin was decomposed. Therefore, it was not suitable for reusing. The solvent had unpleasant odor. The activators were dissolved in water but it was not worth for recovery. Reduced pressure distillation could not separate waste flux because it decomposed. Bumming of waste flux directly flux directlyl white fume. Treatment of waste flux with ozone followed by oxidation gave pale yellow material which could be used as a new activator with three –COOH groups. However this activator gave brown residue after soldering. Catalytic hydrogenation of waste flux changed dark brown color of waste flux to yellow. The best condition was 100 ℃, 450 psi pressure for 12 hours using palladium on charcoal as catalyst with 1 : 200 ratio of catalyst of catalyst to waste flux. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ | - |
dc.subject | ฟลักซ์ (โลหวิทยา) -- การเสื่อมสภาพ | - |
dc.subject | Electronic industries | - |
dc.subject | Flux (Metallurgy) -- Deterioration | - |
dc.title | การบำบัดฟลักซ์เสื่อมสภาพจากอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ | en_US |
dc.title.alternative | Treatment of waste fluxes in electronic industry | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | วิทยาศาสตร์สภาวะแวดล้อม (สหสาขาวิชา) | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Pharadee_ka_front_p.pdf | หน้าปก สารบัญและบทคัดย่อ | 569.07 kB | Adobe PDF | View/Open |
Pharadee_ka_ch1_p.pdf | บทที่ 1 | 329.25 kB | Adobe PDF | View/Open |
Pharadee_ka_ch2_p.pdf | บทที่ 2 | 575.58 kB | Adobe PDF | View/Open |
Pharadee_ka_ch3_p.pdf | บทที่ 3 | 699.82 kB | Adobe PDF | View/Open |
Pharadee_ka_ch4_p.pdf | บทที่ 4 | 935.93 kB | Adobe PDF | View/Open |
Pharadee_ka_ch5_p.pdf | บทที่ 5 | 360.35 kB | Adobe PDF | View/Open |
Pharadee_ka_back_p.pdf | บรรณานุกรมและภาคผนวก | 1.14 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.