Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/72436
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorประชุมสุข อาชวอำรุง-
dc.contributor.authorอัจฉรา วีรพันธุ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2021-02-25T07:28:14Z-
dc.date.available2021-02-25T07:28:14Z-
dc.date.issued2513-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/72436-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.) -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2513en_US
dc.description.abstractสถิติการศึกษาของไทยที่ผ่านมาแสดงให้เห็นว่าการออกจากโรงเรียนกลางคันของนักเรียนโดยเฉพาะอย่างยิ่งในระดับประถมศึกษามีอัตราสูงซึ่งเป็นผลให้การศึกษาของประชากรโดยเฉลี่ยอยู่ในระดับต่ำและยิ่งกว่านั้นจากสำมะโนประชากร พ.ศ. 2503 ยังแสดงให้เห็นชัดถึงจำนวนประชากรอีกไม่น้อยที่ไม่ได้รับการศึกษาเลยผู้วิจัยคาดว่าประชากรบางส่วนได้สูญเสียการศึกษาของตนไปการวิจัยครั้งนี้จึงมีความมุ่งหมายที่จะหาจำนวนความสูญหายของการศึกษาในวัฏจักรการศึกษา 2500 ถึง 2511 ในแบบมหภาคโดยเปรียบเทียบจำนวนนักเรียนที่มีชื่ออยู่ในทะเบียนของโรงเรียนกับประชากรนักเรียนซึ่งมีการกระจายอย่างปกติได้ขนาดพอดีของระบบการศึกษา ผลของการวิจัยพบว่าในวัฏจักรการศึกษา 2500 ถึง 2511 ประเทศไทยมีความสูญหายของการศึกษาคิดเป็นจำนวนผู้ควรศึกษาสำเร็จระดับมัธยมศึกษาถึง 7.2 ล้านคนหรือร้อยละ 2.11 ของประชากรทั้งประเทศในช่วงเวลาเดียวกันจึงสรุปได้ว่าระบบการศึกษาไทยไม่สามารถอำนวยการศึกษาให้แก่ประชากรได้อย่างเต็มตามความสามารถของแต่ละบุคคลคือในระดับประถมศึกษาตอนต้นมีขนาดใหญ่เกินขนาดพอดีแต่ระดับสูงกว่าประถมศึกษาตอนต้นมีขนาดเล็กกว่าขนาดพอดีมาก-
dc.description.abstractalternativeThe Educational Statistics of Thailand in the recent past, showed a very high drop out rate especially in the primary level, which resulted in a low average educational level of the population. Furthermore the 1960 cencus also revealed considerable number of illiterates. A macro study was thus designed to determine the educational loss of Thai educational system during the year 1957 through 1968. The school populations of those years were distributed normally in order to measure the optimum size of the educational system. The apparent school enrollment was then compared with the optimum size of the system. The result was found that during the educational cycle 1957-1968, the educational loss of Thailand was equal to 7.2 millions secondary school graduates or 2.1 percents of the total population in that cycle. It was finally concluded that the Thai education system did not provide full educational growth to population as a whole.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.1970.1-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectนโยบายการศึกษา -- ไทย-
dc.subjectการศึกษาขั้นประถม --นโยบายของรัฐ -- ไทย-
dc.subjectการศึกษาขั้นมัธยม --นโยบายของรัฐ -- ไทย-
dc.subjectEducation and states -- Thailand-
dc.subjectEducation, Elementary -- Government policy -- Thailand-
dc.subjectEducation, Secondary -- Government policy -- Thailand-
dc.titleการหาความสูญหายของการศึกษาในวัฏจักรการศึกษา 2500-2511en_US
dc.title.alternativeDeterminationn of educational loss during the educational cycle 1957-1968en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิจัยการศึกษาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.1970.1-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Achara_vi_front_p.pdfหน้าปก บทคัดย่อ และสารบัญ897.43 kBAdobe PDFView/Open
Achara_vi_ch1_p.pdfบทที่ 11.14 MBAdobe PDFView/Open
Achara_vi_ch2_p.pdfบทที่ 21.11 MBAdobe PDFView/Open
Achara_vi_ch3_p.pdfบทที่ 3977.49 kBAdobe PDFView/Open
Achara_vi_ch4_p.pdfบทที่ 41.6 MBAdobe PDFView/Open
Achara_vi_ch5_p.pdfบทที่ 51.22 MBAdobe PDFView/Open
Achara_vi_back_p.pdfรายการอ้างอิงและภาคผนวก982.39 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.