Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/72573
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนิรมล ชยุตสาหกิจ-
dc.contributor.authorกาญจนา คำสุวรรณ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2021-03-04T03:43:23Z-
dc.date.available2021-03-04T03:43:23Z-
dc.date.issued2515-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/72573-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.) -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2515en_US
dc.description.abstractความมุ่งหมายของการวิจัยคือเพื่อที่จะศึกษาความสัมธ์ระหว่างการอบรมเลี้ยงดูแบบการฝึกให้พึ่งตนเองพัฒนาการทางความคิดและสัมฤทธิผลทางการเรียนกลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชายหญิงจำนวน108 คนและมารดาของเด็กในนครหลวง-กรุงเทพธนบุรี วิธีการรวบรวมข้อมูลผู้วิจัยได้นำการทดสอบตามแบบของเปียเจท์ที่ใช้วัดความสามารถในการอนุรักษ์ 4 ด้านคือ การอนุรักษ์ความยาวของไม้ 2 อัน การอนุรักษ์ความยาวของไม้หลายอัน การอนุรักษ์ของเหลวและการอนุรักษ์ปริมาตรโดยทดสอบเด็กเป็นรายบุคคลและได้ส่งแบบสอบถามการฝึกให้พึ่งตนเองซึ่ง มธุรส วีระกำแหง และ มาลา วิรุณานนท์ ได้ดัดแปลงจากแบบสอบถามของวินเทอบอททอมไปให้มารดาของเด็กตอบ ผลการวิจัย ปรากฏว่า (1) การฝึกให้พึ่งตนเองตามมาตรฐานของสังคมสูงกว่าการฝึกให้พึ่งตนแองตามพฤติกรรมจริงอย่างมีนัยสำคัญ (t = 2.14, p < .05) (2) การฝึกให้พึ่งตนเองตามมาตรฐานของสังคมของเด็กชายสูงกว่าเด็กหญิงอย่างมีนัยสำคัญ (t = 2.08, p < .05) (3) การฝึกให้พึ่งตนเองตามพฤติกรรมจริงของเด็กชายไม่แตกต่างจากเด็กหญิง (t = 1.31, p < .05) (4) การฝึกให้พึ่งตนเองตามพฤติกรรมจริงไม่มีความสัมพันธ์กับพัฒนาการทางความคิดในกลุ่มรวม (r = -.138, p < .05) และกลุ่มเด็กหญิง (r - .028, p < .05) แต่พบความสัมพันธ์ในทางลบในกลุ่มเพศชายอย่างมีนัยสำคัญ (r = -.264, p < .05) (5) การฝึกให้พึ่งตนเองตามมาตรฐานของสังคมมีความสัมพันธ์ในทางบวกกับพัฒนาการทางความคิดอย่างมีนัยสำคัญในกลุ่มรวม (r = .413, p < .01) แต่ไม่พบความสัมพันธ์ระหว่าง 2 ตัวแปรนี้ในกลุ่มเพศชาย (r = -.178, p < .05) และกลุ่มเพศหญิง (r = -.145, p < .05) (6) การฝึกให้พึ่งตนเองตามพฤติกรรมรวมไม่มีความสัมพันธ์กับพัฒนาการทางความคิดในกลุ่มรวม (r = .032, p < .05) และกลุ่มเพศหญิง (r = .075, p < .05) แต่พบความสัมพันธ์ในทางลบอย่างมีนัยสำคัญในกลุ่มเพศชาย (r = -.313, p < .01) (7) พัฒนาการทางความคิดระหว่างเด็กชายและเด็กหญิงไม่แตกต่างกัน (t = 1.47, p < .05) (8) การฝึกให้พึ่งตนเองตามพฤติกรรมจริงมีความสัมพันธ์ในทางบวกกับสัมฤทธิผลทางการเรียนในกลุ่มรวม (e = .440, p < .01) แต่ไม่พบความสัมพันธ์ระหว่าง 2 ตัวแปรนี้ในกลุ่มชาย (r = -.010, p < .05) และกลุ่มหญิง (r = -.049, p < .05) (9) การฝึกให้พึ่งตนเองตามมาตรฐานสังคมมีความสัมพันธ์ในทางบวกกับสัมฤทธิผลทางการเรียนในกลุ่มรวม (r = .282, p < .01) และกลุ่มเพศหญิง (r = .233, p < .10) แต่ไม่พบความสัมพันธ์ในกลุ่มเพศชาย (r = -.152, p < .05) (10) การฝึกให้พึ่งตนเองตามพฤติกรรมรวมมีความสัมพันธ์ในทางบวกกับสัมฤทธิผลทางการเรียนในกลุ่มเพศหญิง (r = .231, p < .10) แต่ไม่พบความสัมพันธ์ในกลุ่มรวม (r = .138, p < .05) และกลุ่มเพศชาย (r = -.179, p < .05) (11) พัฒนาการทางความคิดไม่มีความสัมพันธ์กับฤทธิผลทางการเรียนในกลุ่มรวม (r = -.040, p < .05) กลุ่มเพศชาย (r = .035, p < .05) และกลุ่มเพศหญิง (r = .129, p < .05)-
dc.description.abstractalternativeThe Purpose of this study was to investigate the relationship between the child-rearing practices in independence training, cognitive development and academic achievement. Subjects were 108 males and females elementary school students and their mothers. The students were tested individually by Piaget’s Conservation Tests. The children’s mothers were given the independence training questionnaires which Mathuros Weerahamhaeng and Mala Virunanane had adapted from Winterbottom. The results revealed that (1) the actual behavior of the independence training is lower significantly than the social standard (t = 2.14, p < .05); (2) the social standard of the boys independence training is significantly higher than the girls (t = 2.08, p < .05); (3) no significant difference between the boys and girls in actual independence training behavior (t = 1.31, p < .05); (4) the actual behavior of the independence training was not correlated with cognitive development in both sex groups combined (r = -.138, p < .05); and female group (r = .028, p < .05); but negatively correlated in male group (r = .264, p < .05); (5) the social standard of the independence training was correlated positively with cognitive development in both sex groups combined (r = .413, p < .01), but not correlated in the male group (r = -.178, p < .05), or the female group (r = -.145, p < .05); (6) the total behavior of independence training was not correlated with cognitive development in both sex groups combined (r = .032, p < .05), or the female group (r = .075, p < .05), but negatively correlate in the male group (r = -.313, p < .01); (7) the cognitive development in male and females groups were not significantly different (t = 1.47, p < .05); (8) the actual behavior of the independence training was correlated positively with academic achievement in both sex groups combined (r = .440, p < .01), but not correlate in the male (r = -.010, p < .05), or the female groups (r = -.043, p < .05); (9) the social standard of the independence training was correlated positively with academic achievement in both sex groups combined (r = .282, p < .01) and female groups ( r = .233, p < .10), but not correlated in male groups (r = -.152, p < .05); (10) the total, behavior of the indepence training was correlated positively with academic achievement in female group (r = .231, p < .10), but not correlated in both sex groups combined (r = .138, p < .05) and male group (r = -.173, p < .05); (11) the cognitive development was not correlated with academic achievement in both sex groups combined (r = -.040, p < .05), the male group (r = .035, p < .05) or the female group (r = .129, p < .05).-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.1972.6-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectเด็ก -- การเลี้ยงดูen_US
dc.subjectผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน -- ไทยen_US
dc.subjectAcademic achievement -- Thailand-
dc.subjectChild rearing-
dc.titleความสัมพันธ์การศึกษาเปรียบเทียบระหว่างการอบรมเลี้ยงดู พัฒนาการทางความคิดตามทฤษฎีของเปียเจท์ และสัมฤทธิผลทางการเรียนen_US
dc.title.alternativeRelationship between the child-rearing practices, piaget's cognitive develoment and academic achievementen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineจิตวิทยาการศึกษาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorNiramol.Ch@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.1972.6-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Kanjana_cu_front_p.pdfหน้าปก บทคัดย่อ และสารบัญ1.12 MBAdobe PDFView/Open
Kanjana_cu_ch1_p.pdfบทที่ 13.64 MBAdobe PDFView/Open
Kanjana_cu_ch2_p.pdfบทที่ 2963.33 kBAdobe PDFView/Open
Kanjana_cu_ch3_p.pdfบทที่ 31.93 MBAdobe PDFView/Open
Kanjana_cu_ch4_p.pdfบทที่ 41.53 MBAdobe PDFView/Open
Kanjana_cu_ch5_p.pdfบทที่ 5795.08 kBAdobe PDFView/Open
Kanjana_cu_back_p.pdfรายการอ้างอิงและภาคผนวก1.33 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.