Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/72694
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสมใจ เพ็งปรีชา-
dc.contributor.authorอัจฉรีย์ กาญจนพิบูลวงศ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2021-03-08T08:58:13Z-
dc.date.available2021-03-08T08:58:13Z-
dc.date.issued2543-
dc.identifier.isbn9741704127-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/72694-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544en_US
dc.description.abstractการศึกษาความสามารถในการกำจัดโลหะหนักสามชนิด ได้แก่ ตะกั่ว ทองแดง และสังกะสีในนํ้าเสียสังเคราะห์โดยการใช้ดินลูกรังที่อุณหภูมิห้อง ได้ผลการศึกษาที่ชี้ให้เห็นว่า ชนิดของโลหะหนักความเข้มข้นของโลหะหนัก พีเอชของนํ้าเสีย ปริมาณของดินลูกรังที่ใช้ และระยะเวลาที่ดินลูกรังสัมผัสกับนํ้าเสียมีผลต่อประสิทธิภาพการกำจัดโลหะหนัก จากผลการศึกษาพบว่าการใช้ดินลูกรังปริมาณ 1.00 กรัม สามารถกำจัดตะกั่วได้สูงกว่า 99 เปอร์เซ็นต์เมื่อนํ้าเสียสังเคราะห์มี ความเข้มข้นของตะกั่ว 25 ส่วนในล้านส่วน, สามารถกำจัดทองแดงได้สูงกว่า 99 เปอร์เซ็นต์เมื่อนํ้าเสียสังเคราะห์มีความเข้มข้นของทองแดง 10 ส่วนในล้านส่วน และสามารถกำจัดสังกะสีได้สูง 98 เปอร์เซ็นต์เมื่อนํ้าเสียสังเคราะห์มีความเข้มข้นของสังกะสี 5 ส่วนในล้านส่วน โดยพบว่าตะกั่วเป็นโลหะหนักที่ถูกกำจัดไปได้เร็วที่สุด รองลงมาคือ ทองแดง และสังกะสี ตามลำดับ การทดสอบการกำจัดตะกั่วในนํ้าเสียจากโรงงานผลิตแบตเตอรี่ซึ่งมีความเข้มข้นของตะกั่ว 5.44 ส่วนในล้านส่วน พบว่าดินลูกรังสามารถกำจัดตะกั่วได้สูงกว่า 70 เปอร์เซ็นต์en_US
dc.description.abstractalternativeThe removal of lead, copper and zinc in synthetic wastewater by using lateritic soil was examined in a batch experiment at room temperature. The results indicated that type and concentration of heavy metal, pH of wastewater, amount of lateritic soil and contacting time affected the heavy metal removal efficiency. The findings of this study showed that 1.00 gram of lateritic soil had the capability to remove more than 99% of lead and copper, and up to 98% of zinc in synthetic wastewaters at the concentrations of lead, copper and zinc of 25, 10 and 5 ppm, respectively, and the order of removing time was Pb(II) < Cu(II) < Zn(II). In the case of wastewater from a battery factory at 5.44 ppm of lead concentration, more than 70% of lead could be removed by lateritic soil.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectน้ำเสีย -- การบำบัด -- การกำจัดโลหะหนักen_US
dc.subjectดินลูกรังen_US
dc.subjectการดูดซับen_US
dc.titleการกำจัดโลหะหนักบางชนิดในน้ำเสียสังเคราะห์ด้วยดินลูกรังen_US
dc.title.alternativeRemoval of some heavy metals in synthetic wastewater by lateritic soilen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิทยาศาสตร์สภาวะแวดล้อม (สหสาขาวิชา)en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorSomchai.Pe@chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Adcharee_ka_front_p.pdfหน้าปก สารบัญ และบทคัดย่อ797.02 kBAdobe PDFView/Open
Adcharee_ka_ch1_p.pdfบทที่ 1669.25 kBAdobe PDFView/Open
Adcharee_ka_ch2_p.pdfบทที่ 21.26 MBAdobe PDFView/Open
Adcharee_ka_ch3_p.pdfบทที่ 3783.1 kBAdobe PDFView/Open
Adcharee_ka_ch4_p.pdfบทที่ 41.63 MBAdobe PDFView/Open
Adcharee_ka_ch5_p.pdfบทที่ 5643.23 kBAdobe PDFView/Open
Adcharee_ka_back_p.pdfบรรณานุกรมและภาคผนวก1.29 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.