Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/7269
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorบุญมี เณรยอด-
dc.contributor.authorบุษยา ปิยารมย์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2008-06-18T07:07:23Z-
dc.date.available2008-06-18T07:07:23Z-
dc.date.issued2548-
dc.identifier.isbn9741418787-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/7269-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548en
dc.description.abstractศึกษาสภาพและปัญหาการดำเนินงานนิเทศด้านวิชาการของศูนย์บริการการศึกษานอกโรงเรียนอำเภอ สังกัดสำนักงานบริหารงานการศึกษานอกโรงเรียนในภาคตะวันออก ประชากรคือผู้บริหาร ข้าราชการครูและพนักงานราชการ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยแจกแจงความถี่ และหาค่าร้อยละ ผลการวิจัยพบว่า 1. การเตรียมการนิเทศ ผู้บริหารชี้แจงวัตถุประสงค์ในที่ประชุมแก่ข้าราชการครูและพนักงานราชการ คณะกรรมการดำเนินงานนิเทศระดมความคิดร่วมกันกำหนดแผนงานนิเทศด้านวิชาการ และผู้นิเทศมีการศึกษาเอกสารเกี่ยวกับการนิเทศและจัดเตรียมตารางการนิเทศ ปัญหารการเตรียมการนิเทศ ได้แก่ เอกสารการชี้แจงวัตถุประสงค์มีไม่เพียงพอ ขาดบุคลากรที่มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการนิเทศด้านวิชาการ และขาดบุคลากรที่มีความรู้และทักษะในการปฏิบัติงาน 2. การดำเนินการนิเทศ ผู้นิเทศใช้กิจกรรมการนิเทศหลายวิธี เครื่องมือที่ใช้ในการนิเทศเป็นแบบสังเกตและแบบสัมภาษณ์ ติดตามผลการดำเนินงานจากการสังเกตและสัมภาษณ์ผู้เกี่ยวข้องในการปฎิบัติงาน รายงานผลเป็นเอกสารรายงาน และผู้บริหารให้คำแนะนำและกำลังใจแก่ผู้นิเทศ ปัญหารการดำเนินการนิเทศ ได้แก่ ผู้นิเทศมีหน้าที่รับผิดชอบหลายหน้าที่ทำให้ไม่มีเวลาในการนิเทศงานอย่างสม่ำเสมอ ผู้มีเทศมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการนิเทศด้านวิชาการไม่เพียงพอและงปประมาณมีไม่เพียงพอ 3.การประเมินผลการนิเทศ ผู้นิเทศใช้การสังเกต การสัมภาษณ์ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ประเมินผล ในช่วงสิ้นสุดการดำเนินการนิเทศ จัดทำเป็นเอกสารรายงานผลและนำไปใช้ในการปรับปรุงวิธีดำเนินงาน ปัญหารการประเมินผลการนิเทศ ได้แก่ ขาดบุคลากรที่มีความรู้เกี่ยวกับการประเมินผล และบุคลากรไม่นำผลการประเมินไปใช้ประกอบการปฏิบัติงานen
dc.description.abstractalternativeTo study state and problems of the operation of the Academic Task Supervision of District Non-Formal Education Service Centers under the Office of Non-Formal Education Comission, Eastern region. The subjects included of administrators, teachers and governmental employees. Research instrument was a questionnaire. Data were analyzed into frequency and percentage. The research finding were as follows 1. At the preparation stage: the administrators informed their sataff regarding supervisory objective through meetings, while brain stroming technique was employed by supervisory committee in formulation supervisory plan. Supervisors also prepared themselves and prepared supervisory schedule. Problems occurred were insufficient amount of documents, lack of qualified personnel. 2. At the operation stage: Various supervisory activities were organized, supervisory tools used were observation and interview sheets. Follow-up activities were an observation and an interview, also reports were prepared. Administrators motivated their staff through advise and willpower. Problems found were over-workload among supervisors, inappropriate knowledge among supervisors, insufficient amount of budget. 3. At the evaluation stage: an observation and an interview techniques were used as a method of gathering data, while an evaluation was conducted at the end of the operation, a report was also prepared for further improvements. Problems occurred were lack of qualified personel, and the operational results were unutillized upon supervisory improvement.en
dc.format.extent2416834 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2005.686-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการนิเทศงานวิชาการในโรงเรียนen
dc.subjectการนิเทศการศึกษาen
dc.subjectการศึกษานอกระบบโรงเรียนen
dc.titleการดำเนินงานนิเทศด้านวิชาการของศูนย์บริการการศึกษานอกโรงเรียนอำเภอ สังกัดสำนักบริหารงานการศึกษานอกโรงเรียนในภาคตะวันออกen
dc.title.alternativeThe Operation of the academic task supervision of district non-formal education service centers under the Office of Non-Formal Education Commission, Eastern regionen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineนิเทศการศึกษาและพัฒนาหลักสูตรes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorBoonmee.n@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2005.686-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
budsaya.pdf2.36 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.