Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/7272
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorอุปมา เลี้ยงสว่างวงศ์-
dc.contributor.authorนิกร ดุสิตสิน-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์การแพทย์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะแพทยศาสตร์-
dc.date.accessioned2008-06-27T07:10:13Z-
dc.date.available2008-06-27T07:10:13Z-
dc.date.issued2532-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/7272-
dc.description.abstractได้ศึกษาถึงภาวะภูมิต้านทานต่อเชื้อมาเลเรียในเขตที่มีการระบาดสูง โดยทำการจัดเก็บข้อมูลและตัวอย่างเลือดจากผู้บริจาคโลหิตในเขตจังหวัดชลบุรี จำนวน 200 ตัวอย่าง จัดแบ่งตัวอย่างออกเป็น 2 กลุ่ม เป็นกลุ่มที่เคยและไม่เคยได้รับการติดเชื้อมาเลเรีย กลุ่มละ 100 ตัวอย่าง ซึ่งแต่ละกลุ่มประกอบด้วย คนที่อาศัยใน/ต่างภูมิลำเนา จำนวน 69/31 และ 74/26 ตัวอย่าง ในกลุ่มที่เคยและไม่เคยได้รับการติดเชื้อมาเลเรีย ตามลำดับ ตัวอย่างเลือดที่ได้นำมาวิเคราะห์หาระดับภูมิต้านทานโดยวิธี Indirect immunofluorescent antibody technique ระดับภูมิต้านทานที่ตรวจพบนำมาวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ โดยวิธี Analysis of Variance พบว่าประชากรกลุ่มที่เคยหรือไม่เคยได้รับการติดเชื้อมาเลเรีย เมื่อนำมาเปรียบเทียบกันระหว่างกลุ่มคนในภูมิลำเนา และคนต่างภูมิลำเนาระดับภูมิต้านทานที่ตรวจพบมีค่าใกล้เคียงกันหรือต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติสำหรับประชากรที่เป็นคนในภูมิลำเนาหรือต่างภูมิลำเนา เมื่อศึกษาเปรียบเทียบระหว่างคนเคยและไม่เคยได้รับการติดเชื้อมาเลเรียในแต่ละกลุ่ม พบว่ามีระดับภูมิต้านทานแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ โดยกลุ่มที่เคยได้รับการติดเชื้อมาเลเรียพบระดับภูมิต้านทานที่สูงกว่าen
dc.description.abstractalternativeBlood samples and history of exposure including the domicile were collected and recorded from 200 blood donors from a hyperendemic area. Donors were equally divided into 2 main categories of a malaria-exposed and an unexposed groups. They were 69/31 or 74/26 permanent/temporary residers in the exposed or unexposed group respectively. Blood samples were processed and examined for a presence of antimalaria antibodies by using an indirect immunofluorescent antibody technique. Statistical analysis was performed by using a method of the analysis of variance. Results obtained indicated that anti-malaria antibodies found in donors, from the malaria-exposed or the unexposed group ; were approximately identical when the permanent residers were compared to temporary ones. But if the comparison was carried out between the exposed and unexposed donors within the same group of residence, significantly distinct levels of antimalaria antibodies were detected and the higher level of antibody was found in the malaria-exposed group than the other.en
dc.description.sponsorshipทุนวิจัยกองทุนรัชดาภิเษกสมโภชen
dc.format.extent4423903 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectมาลาเรีย -- การป้องกันและควบคุมen
dc.subjectแอนติบอดีย์en
dc.subjectภูมิคุ้มกันen
dc.subjectเซรุ่ม-การวิเคราะห์en
dc.titleภูมิต้านทานต่อเชื้อมาลาเรียในผู้บริจาคโลหิตในเขตที่มีการระบาดสูง : รายงานผลการวิจัยen
dc.title.alternativeAntimalaria antibodies in blood donors of hyperendemic areaen
dc.typeTechnical Reportes
dc.email.authorไม่มีข้อมูล-
dc.email.authorNikorn.D@chula.ac.th-
Appears in Collections:Health - Research Reports

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Upama.pdf4.32 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.