Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/7273
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorประโยชน์ ตันติเจริญยศ-
dc.contributor.authorชัยณรงค์ โลหชิต-
dc.contributor.authorจินดา สิงห์ลอ-
dc.contributor.authorกัลยาณี ตันศฤงฆาร-
dc.contributor.authorเบญจภรณ์ รุ่งพิทักษ์ไชย-
dc.contributor.authorปิยลัมพร หะวานนท์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสัตวแพทยศาสตร์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสัตวแพทยศาสตร์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสัตวแพทยศาสตร์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์การแพทย์-
dc.contributor.otherไม่มีข้อมูล-
dc.contributor.otherไม่มีข้อมูล-
dc.date.accessioned2008-06-27T07:46:28Z-
dc.date.available2008-06-27T07:46:28Z-
dc.date.issued2539-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/7273-
dc.description.abstractหลายประเทศมีปัญหาเกี่ยวกับสุนัขจรจัด ซึ่งรวมทั้งประเทศไทยด้วยเช่นกัน หนึ่งในหลายๆวิธีที่ใช้ควบคุมประชากรสุนัข คือ การทำหมัน การทำหมันในตัวผู้จะง่าย และปลอดภัยกว่าการทำหมันสุนัขตัวเมีย การศึกษานี้ได้เปรียบเทียบการวางยาสลบด้วย Xylazine ร่วมกับ Thiopental sodium กับ Pentobarbital sodium อย่างเดียวกลุ่มละ 6 ตัว พบว่าการใช้ Pentobarbital sodium สามารถเริ่มทำการผ่าตัดได้เร็วกว่าออย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ p = 0.003 แต่ฟื้นตัวช้ากว่าอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ p = 0.004 ส่วนการตัดหลอดนำน้ำอสุจิ แล้วผูกปลายทั้งสองข้างกับการตัดด้วยการจี้ด้วยไฟฟ้า อย่างละ 3 ตัว/กลุ่ม/ชนิดยาบังคับสัตว์ พบว่าการจี้ด้วยไฟฟ้าใช้เวลาน้อยกว่าที่ความเชื่อมั่น 95% และเวลารวมที่ใช้ตัดหลอดนำน้ำอสุจิทั้งสองข้างก็น้อยกว่า สุนัขที่ตัดหลอดนำน้ำอสุจิจะตรวจไม่พบเชื้อใน 1 สัปดาห์หลังการทำหมัน สุนัขทดลองทั้งหมดไม่พบการเปลี่ยนแปลงใดๆทางกายภาพ ภายหลังจากทำหมันได้ 6 เดือนen
dc.description.abstractalternativeMany countries faced with stray-dog population which including Thailand. One of the many methods which use to control dog population is sterilization. Te male sterilization is easier and safer than doing in the bitch. The study of anesthesia advantage comparison was done between Xylazine + Thiopental sodium and Pentobarbital sodium to 6 dogs/group. The Pentobarbital sodium was statistical significantly quicker at p = 0.003 on operation readiness but was statistical significantly longer recovery at p = 0.004. Vas deferens, 3 dogs/group/animal control method, removed by electric cautery was faster than vas being ligated both end after removal at 95% confidence, even with total time being used for operation. Azoospermia was found in vasectomized dogs one week after vas removal. No any physical change found on all experimental dogs at 6 months of the study.en
dc.description.sponsorshipทุนอุดหนุนการวิจัยประจำปีงบประมาณ 2539en
dc.format.extent10688081 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการทำหมันen
dc.subjectสุนัขen
dc.titleการทำหมันสุนัขโดยวิธีตัดหลอดนำน้ำอสุจิen
dc.typeTechnical Reportes
dc.email.authorไม่มีข้อมูล-
dc.email.authorChainarong.L@Chula.ac.th-
dc.email.authorไม่มีข้อมูล-
dc.email.authorKalayanee.T@Chula.ac.th-
dc.email.authorไม่มีข้อมูล-
dc.email.authorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Health - Research Reports

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Prayot_steri.pdf10.44 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.