Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/72791
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอมรวิชช์ นาครทรรพ-
dc.contributor.authorคมพล สุวรรณกูฏ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2021-03-12T02:36:18Z-
dc.date.available2021-03-12T02:36:18Z-
dc.date.issued2544-
dc.identifier.isbn9740307639-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/72791-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544en_US
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพี่อ 1) ศึกษาศักยภาพและทางเลือกของชาวบ้านในการดูแลรักษาสุขภาพที่ดำรงอยู่ในชุมชน2 ) ศึกษาการเรียนรู้การปรับตัว และการตัดสินใจของชาวบ้านในการดูแลรักษาสุขภาพ 3) ทดลองแนวทางการพัฒนาการดูแลรักษาสุขภาพแบบมีส่วนร่วมของชุมชน 4) วิเคราะห์ปัจจัยเงื่อนไขที่ส่งผลต่องานพัฒนาการดูแลรักษาสุขภาพแบบมีส่วนร่วมของชุมชน ผลการศึกษาพบว่า ชาวบ้านมีศักยภาพและทางเลือกที่หลากหลายในการดูแลรักษาสุขภาพตนเองทั้งในระดับปัจเจกบุคคล/ครอบครัว/ชุมชน เมื่อเจ็บไข้ได้ป่วยเล็กๆน้อยๆสามารถพึ่งตนเองได้โดยการดูแลกันเองในครัวเรือน หากไม่สามารถรักษาได้เอง ก็พร้อมที่จะพึ่งพาผู้ชำนาญการในชุมชนหรืออาศัยสถานบริการสาธารณสุขของรัฐที่อยู่ใกล้เคียง โดยชาวบ้านสามารถประยุกต์ใช้ทั้งภูมิปัญญาดั้งเดิมและภูมิปัญญาสมัยใหม่ได้อย่างกลมกลืน โดยไม่ปฏิเสธด้านใดด้านหนึ่งโดยสิ้นเชิง ทั้งนี้ หากมองภาพรวมเชิงระบบ พบว่า ชาวบ้านมีทางเลือกที่หลากหลายใน การดูแลรักษาสุขภาพ ได้แก่ ระบบการดูแลรักษาสุขภาพในครัวเรือนและชุมชน ระบบการแพทย์พื้นบ้านในท้องถิ่น ระบบการแพทย์แผนไทยและแผนปัจจุบันใน สถานบริการสาธารณสุขของรัฐ และระบบการแพทย์ทางเลือกอื่นอย่างไรก็ตาม ปัจจัยที่ช่วยให้ชุมชนสามารถแสวงหาแนวทางในการดูแลรักษาสุขภาพได้อย่างหลากหลายและเหมาะสม ประกอบด้วยความสามารถในการเรียนเชิงรุก ความสามารถในการปรับตัวอย่างต่อเนื่อง และวิธีคิดแบบพึ่งตน ภายใต้บริบททางสังคมวัฒนธรรมและสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไป ทั้งนี้ การพัฒนาสุขภาพอย่างมีส่วนร่วมของประชาชน โดยอาศัยการประมวลองค์ความรู้พื้นบ้านในการดูแลรักษาสุขภาพ เพี่อส่งเสริมการดูแลรักษาสุขภาพตนเอง จำเป็นต้องให้สอดคล้องกับกระบวนการเรียนเของชุมชนในการดูแลรักษาสุขภาพ ภายใต้ปัจจัยเงื่อนไขที่สำคัญ กล่าวคือ การมีผู้รู้ท้องถิ่น การมีองค์ความรู้พื้นบ้าน ความเป็นครอบครัวและเครือญาติในชุมชน ระดับการยอมรับองค์ความรู้ ความมั่งคงทางเศรษฐกิจสังคม ควาหลากหลาย ทางชีวภาพ และระดับความสำเร็จของระบบบริการสาธารณสุขของรัฐen_US
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research are 1) to study villages’ potential and alternative in community health care, 2) to study villages’ learning, adapting and decision making in health care, 3) to experiment a health care development with people participation method, 4) to analyze conditional factors affecting the work of health care development with people participation. Results of the study show that villagers possess various potentials and alternatives in health care at the individual / family / community levels. When face with minor health problems, they take care each other within the family’s if that can not cure, they are ready to seek services from the community’s health experts or nearby state health center. The villagers can apply traditional folk wisdom and modem knowledge for health care smoothly without rejecting one of them. Taking the system as a whole, it was found that villagers have many alternatives in health care, i.e., the system of health care in the family and community, the system of local folk medicine, the systems of Thai and modern medicines in state health service centers and other medical alternatives. However, factors relating to various and appropriate alternatives for community health care are the ability for active learning, ability for continuing adjustment and self-reliance thinking under the changing social and cultural context. The health care development with people participation under the native health care knowledge to promote self-health care has to be in accordance with the community learning process in health care under major conditional factors, i.e., local knowledgeable persons, native categories or knowledge, community family and kinship, level of knowledge acceptance, socio-economic security, biological diversity and level of success of state health care service.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการเรียนรู้en_US
dc.subjectชุมชนen_US
dc.subjectการดูแลสุขภาพด้วยตนเองen_US
dc.subjectการแพทย์ -- ไทยen_US
dc.subjectปริญญาดุษฎีบัณฑิตen_US
dc.titleการศึกษาและพัฒนากระบวนการเรียนรู้ของชุมชนในด้านการดูแลรักษาสุขภาพ เพื่อการพึ่งตนเองด้านสาธารณสุขของชุมชนen_US
dc.title.alternativeThe study and development of community health care learning process for community public health self-relianceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineพัฒนศึกษาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.otherAmornwich.N@chula.ac.th-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Kompon_su_front_p.pdfหน้าปก สารบัญ และบทคัดย่อ846.8 kBAdobe PDFView/Open
Kompon_su_ch1_p.pdfบทที่ 1980.48 kBAdobe PDFView/Open
Kompon_su_ch2_p.pdfบทที่ 23.49 MBAdobe PDFView/Open
Kompon_su_ch3_p.pdfบทที่ 3951.03 kBAdobe PDFView/Open
Kompon_su_ch4_p.pdfบทที่ 43.43 MBAdobe PDFView/Open
Kompon_su_ch5_p.pdfบทที่ 54.16 MBAdobe PDFView/Open
Kompon_su_ch6_p.pdfบทที่ 63.26 MBAdobe PDFView/Open
Kompon_su_ch7_p.pdfบทที่ 71.4 MBAdobe PDFView/Open
Kompon_su_back_p.pdfบรรณานุกรมและภาคผนวก2.72 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.