Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/72816
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนันทริกา คุ้มไพโรจน์-
dc.contributor.authorรพีวรรณ กลยนี-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิเทศศาสตร์-
dc.date.accessioned2021-03-12T04:42:16Z-
dc.date.available2021-03-12T04:42:16Z-
dc.date.issued2544-
dc.identifier.isbn9740303536-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/72816-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544en_US
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพี่อศึกษาว่า หนังสือพิมพ์มีการนำเสนอเนื้อหาการสำรวจโพลในประเด็นปัญหา จำนวนและรูปแบบใด การนำเสนอมีความสมบูรณ์ ถูกต้องตามหลักการรายงานผลโพล และมีความน่าเชื่อถือหรือไม่ นอกจากนี้ยังศึกษาถึงปัจจัยการคัดเลือก และการสร้างความน่าเชื่อถือร่วมด้วย งานวิจัยนี้ เป็นการเปรียบเทียบระหว่างหนังสือพิมพ์ 4 ชื่อฉบับ ได้แก่ หนังสือพิมพ์ไทยรัฐ หนังสือพิมพ์ข่าวสด หนังสือพิมพ์ไทยโพสต์ และหนังลือพิมพ์มติชน โดยหนังสือพิมพ์ไทยรัฐ และหนังสือพิมพ์ข่าวสด ถือเป็นตัวแทนของหนังสือพิมพ์เชิงปริมาณ ส่วนหนังสือพิมพ์ไทยโพสต์ และหนังสือพิมพ์มติชนถือเป็นตัวแทนของหนังสือพิมพ์เชิงคุณภาพ ผลการวิจัยพบว่า หนังสือพิมพ์มีการนำเสนอการสำรวจโพลในประเด็นที่ไม่ใช่การเลือกตั้งในเรื่องของปัญหาความขัดแย้ง ส่วนประเด็นการเลือกตั้งนั้น ยังมุ่งเน้นการทำนายผลการเลือกตั้งเช่นเดียวกับในอดีต โดยหนังสือพิมพ์ทำการเสนอผลการสำรวจโพลของเอแบคโพลล์ สวนดุสิตโพล กรุงเทพโพล และพระนครโพล เป็นหลัก และใช้รูปแบบข่าวในการนำเสนอเป็นส่วนใหญ่ สำหรับการนำเสนอเนื้อหาที่มีความสมบูรณ์ ถูกต้องตามหลักการรายงานผลโพลที่ผู้วิจัยกำหนด ไม่มีหนังสือพิมพ์รายวันฉบับใดมีการนำเสนอครบได้ครบถ้วยความสมบูรณ์ จะเน้นการรายงานผลโพลหนังสือพิมพ์รายวันฉบับใดมีการนำเสนอครบได้ครบถ้วนความสมบูรณ์ จะเน้นการรายงานผลโพลที่ได้จากการวิเคราะห์ข้อมูลเป็นหลัก สำหรับปัจจัยในการคัดเลือก และการรายงานผลการสำรวจโพลนั้น หนังสือพิมพ์มีการคัดเลือกจากเรื่องที่มีการขัดแย้งในสังคม หรือสถานการณ์ที่กำลังเป็นที่สนใจของประชาชนขณะนั้น ในส่วนของการสร้างความน่าเชื่อถือ โดยการนำผลการสำรวจโพลมาประกอบในเนื้อหานั้น พบว่าสามารถสร้างความน่าเชื่อถือได้ เพราะ ผลการสำรวจโพลมีความแม่นยำสอดคล้องกับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นจริงen_US
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research are to study how newspaper presents its poll contents in terms of issue, quantity, and format; whether the presentation is complete and precise according to the rule of poll report; and whether it is credible. Moreover, it is to study the criteria of selecting and building credibility. This research is the comparison amongst 4 newspapers, i.e. Thairath, Kao Sod, Thai Post, Matichon. Thairath and Kao Sod are considered the representatives of quantitative newspapers, whilst Thai Post and Matichon represent the qualitative newspapers. The result of this research found that newspapers also present other issues irrelevant to election. However, within the election issues, they focus on predicting the election result as they have done in the past. They mainly display the survey results in news format from ABAC Poll, Dusit Poll, Bangkok Poll, and Pranakorn Poll. Regarding the completeness and preciseness of the poll, none of the daily newspaper provides it. Basically, they would rather tell the result of poll from their information analysis. For the criteria of selecting and reporting the result of poll survey, newspapers choose from the contradiction occurring in society or the situations being interested by population. In terms of credibility, it is found that they can build trustworthiness since the poll result is substantially consistent with the real situation.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2001.238-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการหยั่งเสียงมหาชนen_US
dc.subjectประชามติen_US
dc.subjectหนังสือพิมพ์en_US
dc.subjectความเชื่อถือได้en_US
dc.titleเปรียบเทียบเนื้อหาการสำรวจโพลในหนังสือพิมพ์รายวัน และการสร้างความน่าเชื่อถือen_US
dc.title.alternativeComparison of poll contents in daily newspapers and their credibilityen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวารสารสนเทศen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2001.238-
Appears in Collections:Comm - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Rapeevun_ko_front_p.pdfหน้าปก สารบัญ และบทคัดย่อ826.1 kBAdobe PDFView/Open
Rapeevun_ko_ch1_p.pdfบทที่ 1727.46 kBAdobe PDFView/Open
Rapeevun_ko_ch2_p.pdfบทที่ 21.42 MBAdobe PDFView/Open
Rapeevun_ko_ch3_p.pdfบทที่ 3721.14 kBAdobe PDFView/Open
Rapeevun_ko_ch4_p.pdfบทที่ 43.84 MBAdobe PDFView/Open
Rapeevun_ko_ch5_p.pdfบทที่ 51.28 MBAdobe PDFView/Open
Rapeevun_ko_back_p.pdfบรรณานุกรมและภาคผนวก1.97 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.