Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/72873
Title: | พิธีกรรมแซนเนียะตาของกลุ่มชาวไทยเขมร : ศึกษาเฉพาะกรณีหมู่บ้านกราม ตำบลไพร อำเภอขุนหาญ จังหวัดศรีสะเกษ |
Other Titles: | Sanneakta Ritual of Thai-Khamer group : a case study of Ban Gram Tambon Prai, Amphoe Khun Han, Si Sa ket |
Authors: | ระพีพรรณ คมใส |
Advisors: | อมรา พงศาพิชญ์ |
Other author: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย |
Advisor's Email: | Amara.P@chula.ac.th |
Subjects: | พิธีทางศาสนาและพิธีกรรม พิธีแซนเนียะตา หมู่บ้านกราม (ศรีสะเกษ) -- ความเป็นอยู่และประเพณี Rites and ceremonies |
Issue Date: | 2540 |
Publisher: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
Abstract: | วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ เป็นการศึกษา เรื่อง พิธีกรรมแซนเนียะตาของกลุ่มชาวไทย เขมร : ศึกษาเฉพาะกรณีหมู่บ้านกราม ตำบลไพร อำเภอชุนหาญ จังหวัดศรีสะเกษ เพื่อศึกษาสัญลักษณ์เละความหมายที่ใช้ในพิธีกรรม และศึกษาหน้าที่รวมทั้งวิเคราะห์หน้าที่ของพิธีกรรม ที่มีผลต่อการจัดระเบียบสังคมของชาวไทยเขมร วัตถุประสงค์ของพิธีกรรมแซนเนียะตา เพื่อเป็นการเฉลิมฉลองความสำเร็จในการเพาะปลูก และเพื่อเป็นการเซ่นสรวงบูชาผีบรรพบุรุษที่ล่วงลับไปแล้ว สำหรับวิธีการวิจัย ใชวิธีการค้นคว้าจากเอกสารและการวิจัยสนามทางมานุษยวิทยา โดยใช้การสังเกตแบบมีสวนร่วม และการสัภาษณ์ผู้ที่มีความรู้เกี่ยวกับพิธีกรรมแซน เนียะตา ได้แก่ กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ซองเมิง และชาวบ้านที่มีอายุตั้งแต่ 40-85 ปี ผลการศึกษาพิธีกรรมแซนเนียะตาพบว่า ประการที่หนึ่งสภาพเศรษฐกิจปัจจุบันทำให้การเข้าร่วมพิธีกรรมของชาวบ้านมีวัตถุประสงค์แตกต่างกัน คือ ชาวบ้านกลุ่มหนึ่งเข้าร่วมพิธีกรรมด้วยความเชื่อเกี่ยวกับผีบรรพบุรุษ ที่ได้ถูกสั่งสมมานาน และชาวบ้านอีกกลุ่มหนึ่ง ต้องการเสี่ยงโชคจากการใบ้หวยของมม็วด ประการที่สองสัญลักษณ์ที่ปรากฏในพิธีกรรม มีความหมายที่แสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ที่มนุษย์มีต่ออำนาจเหนือธรรมชาติ และประการสุดท้าย หน้าที่ของพิธีกรรมแซนเนียะตา ทำให้ผู้ที่อยู่ในหมู่บ้านและญาติมิตรได้มีโอกาสมาพบปะกัน ก่อให้เกิดความเป็นปึกแผ่นในสังคม |
Other Abstract: | This thesis explores the symbolic meaning and function of the Sanneakta ritual. Sanneakta a ritual concerned with the belief in ancestors' spirits. The purpose in performing this ritual is to celebrate the agricultural feast and give charitable and pious deeds to the dead ancestors. The methodology of the study is documentary research and anthropological field work employing participant observation and interview of key informants. The findings are, firstly, people are motivated to be involved in ritual differently. The first group performs pious deeds to the ancestors while the second group joins the ritual to interpret symbolic meanings into numbers to buy lotteries. Secondly, symbols in "Sanneakta" represent the relationships between human beings and super natural spirits. And, lastly, ritual events bring relatives who usually live far away back to the village and hence creat social solidarity. |
Description: | วิทยานิพนธ์ (มน.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2540 |
Degree Name: | มานุษยวิทยามหาบัณฑิต |
Degree Level: | ปริญญาโท |
Degree Discipline: | มานุษยวิทยา |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/72873 |
ISBN: | 9746372556 |
Type: | Thesis |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Rapeephan_ko_front.pdf | หน้าปกและบทคัดย่อ | 374.87 kB | Adobe PDF | View/Open |
Rapeephan_ko_ch1.pdf | บทที่ 1 | 979.09 kB | Adobe PDF | View/Open |
Rapeephan_ko_ch2.pdf | บทที่ 2 | 1.69 MB | Adobe PDF | View/Open |
Rapeephan_ko_ch3.pdf | บทที่ 3 | 1.29 MB | Adobe PDF | View/Open |
Rapeephan_ko_ch4.pdf | บทที่ 4 | 605.39 kB | Adobe PDF | View/Open |
Rapeephan_ko_ch5.pdf | บทที่ 5 | 241.5 kB | Adobe PDF | View/Open |
Rapeephan_ko_back.pdf | บรรณานุกรมและภาคผนวก | 16.74 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.