Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/72920
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | อมราวดี อังค์สุวรรณ | - |
dc.contributor.author | รัชตยา ด่านประสพสุข | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.date.accessioned | 2021-03-22T09:58:07Z | - |
dc.date.available | 2021-03-22T09:58:07Z | - |
dc.date.issued | 2540 | - |
dc.identifier.isbn | 9746391305 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/72920 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (น.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2540 | en_US |
dc.description.abstract | การคุมประพฤติเด็กหรือเยาวชนที่ศาลพิพากษาว่าไม่มีความผิด เป็นมาตรการทางกฎหมายที่ใช้กับเด็กและเยาวชน โดยมีวัตถุประสงค์ในการปกป้อง คุ้มครอง รวมทั้งแกไข้ ฟื้นฟูพฤติกรรมที่ไม่ดีของเด็กหรือเยาวชน ที่อยู่ในกลุ่มเสี่ยงต่อการกระทำความผิดต่อกฎหมาย ซึ่งตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลเยาวชนและครอบครัว และวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ. 2534 มาตรา 100 ได้กำหนดอำนาจของศาลในกรณีที่ศาลพิจารณา พิพากษาว่า เด็กและเยาวชนไม่มีความผิดตามที่โจทก์ฟ้อง แต่มีพฤติกรรมของเด็กหรือเยาวชนมีโอกาสกระทำความผิดขึ้นมาได้ ศาลมีอำนาจกำหนดเงื่อนไขคุมประพฤติเด็กและเยาวชนได้ในกรณีที่เด็กหรือเยาวชนได้ประพฤติ ผิดเงื่อนไขคุมประพฤติ ศาลก็มีอำนาจเรียกตัวเด็กหรือเยาวชนมาตักเตือน หรือส่งเด็กหรือเยาวชนไปเข้ารับการฝึก และอบรมในสถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน หรือสถานศึกษาหรือฝึกและอบรมได้ จากการศึกษาพบว่า การส่งตัวเด็กหรือเยาวชนที่ศาลพิพากษาว่าไม่มีความผิด แต่ผิดเงื่อนไขคุมประพฤติ ไปศึกษาและฝึกอบรมดังกล่าวข้างต้น เป็นมาตรการควบคุมตัวเด็กและเยาวชน ซึ่งการใช้มาตรการดังกล่าวเป็นการ ส่งเด็กหรือเยาวชนที่ไม่ได้กระทำความผิด เข้าไปปะปนกับเด็กและเยาวชนที่กระทำความผิดก่อให้เกิดการถ่ายทอด พฤติกรรมที่ไม่ดี และเป็นการผิดวัตถุประสงค์ของการนกัไขฟื้นฟูเด็กหรือเยาวชนให้กลับเป็นคนดี วิทยานิพนธ์ฉบับนี้จึงเสนอให้มีการปรับปรุงมาตรการสำหรับเด็กหรือเยาวชน ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับเด็กหรือเยาวชนที่ศาลพิพากษาว่ามิได้กระทำความผิด และได้ปฏิบัติฝ่าฝืนเงื่อนไขคุมประพฤติ โดยเสนอให้มีการจัดตั้ง ศูนย์บำบัดแก้ไขฟื้นฟูแบบเปิด ซึ่งเป็นมาตรการกึ่งควบคุมมาใช้กับเด็กหรือเยาวชนแทนการส่งเด็กหรือเยาวชน ไปศึกษาและฝึกอบรมในสถานพินิจและคุ้มครองเด็ก หรือสถานฝึกและอบรมแบบปิด เพี่อให้เกิดประสิทธิภาพในการ บำบัดฟื้นฟู เด็กและเยาวชนได้อย่างมีประสิทธิภาพอย่างแท้จริง | - |
dc.description.abstractalternative | Juvenile probation in the case of non-guilty verdict is a legal measure for juvenile with construction purpose to protect, improve, correct and reform the juvenile and their behavior for those who are vulnerable and exposed to situation and circumstance to commit crime. According to the Family and Youth Court Law Act B.E. 2534, Section 100, the court is empowered to impose condition for juvenile probation in the case of non-guilty verdict but with tendency of juvenile to probably commit potential crime. In addition, in the event of juvenile who breach conditions of probation, the court is also empowered to summon the juvenile to be warned or even to be dispatched to the reform school or any educational or training institutes. Through research, it is found that the practice of the court in dispatching non-guilty juvenile who breach the conditions of probation to obtain education and training aforementioned is a measure of juvenile probation which measure results in dispatched non-guilty juvenile to co-habituate with those juvenile who have committed crime. Thus, there occurs the immitation of bad behavior which is not the purpose of correction and reform of juvenile. This Thesis is to present constructive suggestion to improve the measure for the correction of juvenile in respect to those who are found non-guilty and these who breach conditions of probation with certain proposals to establish such open correction centre. It is a measure of semi-control to be applied to juvenile instead of dispatching them to obtain education and training in reform schools or other close training and correction institutes for the purpose of efficient result of the correction and reform of juvenile. | - |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.1997.309 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | การคุมประพฤติ | en_US |
dc.subject | เยาวชนผู้กระทำความผิดอาญา | en_US |
dc.subject | เด็ก | en_US |
dc.subject | กระบวนการยุติธรรมสำหรับเยาวชน -- การคุ้มครอง | en_US |
dc.subject | Probation | en_US |
dc.subject | Juvenile delinquents | en_US |
dc.subject | Children | en_US |
dc.subject | Juvenile justice, Administration of -- Protection | en_US |
dc.title | การคุมประพฤติเด็กหรือเยาวชนที่ศาลพิพากษาว่าไม่มีความผิด | en_US |
dc.title.alternative | Juvenile probation in the case of non-guilty verdict | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | นิติศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | นิติศาสตร์ | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.advisor | ไม่มีข้อมูล | - |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.1997.309 | - |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Ratchataya_da_front.pdf | หน้าปกและบทคัดย่อ | 466.62 kB | Adobe PDF | View/Open |
Ratchataya_da_ch1.pdf | บทที่ 1 | 449.74 kB | Adobe PDF | View/Open |
Ratchataya_da_ch2.pdf | บทที่ 2 | 2.68 MB | Adobe PDF | View/Open |
Ratchataya_da_ch3.pdf | บทที่ 3 | 4.58 MB | Adobe PDF | View/Open |
Ratchataya_da_ch4.pdf | บทที่ 4 | 1.27 MB | Adobe PDF | View/Open |
Ratchataya_da_ch5.pdf | บทที่ 5 | 434.79 kB | Adobe PDF | View/Open |
Ratchataya_da_back.pdf | บรรณานุกรมและภาคผนวก | 424.2 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.