Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/73101
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสหัส ตรีทิพยบุตร-
dc.contributor.authorมาลินี ลิ่มมานนท์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2021-04-07T08:39:42Z-
dc.date.available2021-04-07T08:39:42Z-
dc.date.issued2525-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/73101-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2525en_US
dc.description.abstractในภาวะปัจจุบัน ธุรกิจการธนาคารนับว่ามีความสำคัญมาก ธนาคารต่าง ๆ กำลังตกอยู่ในสภาพที่ต้องทำการแข่งขันกัน ทางด้านตลาดกับธนาคารด้วยกันเอง และกับบริษัทเงินทุนต่าง ๆ ที่ให้บริการคล้ายคลึงกับธนาคาร ดังนั้น ธนาคารจึงจำเป็นต้องปรับปรุงการให้บริการต่าง ๆ แก่ลูกค้าให้เป็นไปด้วยความคล่องตัว และสะดวกรวดเร็ว เพื่อเป็นการจูงใจลูกค้าให้มาใช้บริการของธนาคารให้มากขึ้น และสร้างความประทับใจให้แก่ลูกค้าตลอดไป การนำเอาเครื่องจักรอีเล็คโทรนิค หรือเครื่องคอมพิวเตอร์เข้ามาช่วยในการปฏิบัติงานด้านการรับฝากเงินของธนาคาร จึงมีความจำเป็นและเหมาะสมอย่างยิ่ง เนื่องจากลักษณะการดำเนินงานด้านการรับฝากเงินของธนาคารนั้นต้องเกี่ยวข้องกับข้อมูลเป็นจำนวนมาก ข้อมูลมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา และยังต้องการความรวดเร็ว และความถูกต้องแน่นอนอีกด้วย วิทยานิพนธ์นี้ ได้ทำการศึกษาเกี่ยวกับลักษณะของการดำเนินงานด้านการรับฝากเงินของธนาคาร ซึ่งแบ่งออกเป็น 3 ระบบ คือ ระบบทำด้วยมือ ระบบกึ่งอัตโนมัติ และระบบอัตโนมัติ โดยได้ศึกษาถึงปัญหาที่เกิดขึ้นจากการทำงานในแต่ละระบบ วิธีการแก้ไขปัญหาเหล่านั้นและค่าใช้จ่ายของแต่ละระบบ ในระบบกึ่งอัตโนมัติได้กำหนดวิธีการพิจารณาเลือกเครื่องจักรลงบัญชีอีเล็คโทรนิค และในระบบอัตโนมัติได้ศึกษาลักษณะการทำงานของระบบ ซึ่งแบ่งออกได้เป็น 4 แบบ คือ ระบบเข้าสู่ศูนย์กลาง ระบบกระจายออกจาศูนย์กลางแบบที่ 1 ระบบกระจายออกจากศูนย์กลางแบบที่ 2 และระบบกระจายออกจากศูนย์กลางแบบที่ 3 โดยในแต่ละระบบได้กล่าวถึง โครงสร้างอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ ลักษณะโดยทั่วไปของระบบ และความเหมาะสมของระบบในการประยุกต์ใช้ รวมทั้งข้อดี และข้อเสียของระบบ สรุปได้ว่าความเหมาะสมของแต่ละระบบ ในการนำไปใช้งานนั้นจะต้องพิจารณาถึงสิ่งสำคัญ ดังต่อไปนี้ คือ ขนาดของธนาคาร ปริมาณงาน จำนวนสาขา และสภาวะแวดล้อมต่าง ๆ-
dc.description.abstractalternativeIn the present economic environment the Banking business has become very important. Banks have to compete with financial institutions and other credit companies offering similar services therefore to provide a faster and more flexible service to their customers, is essential for the survival and prosperity of the banks. Banks have to keep their customer satisfied, interested and impressed in their services. The use of electronic machines or computers in Banking Teller System is necessary and appropriate. This type of process involves a lot of data that have to be constantly updated with accuracy and at a high speed. This thesis is a study of the characteristics of the Banking Teller System, which can be categorized into 3 systems namely a manual system, a semi-automatic system and an automatic system. The problems which arised, their solutions, and the costs of each system are looked into. Griteria for selection of electronic accounting machines in the semi-automatic system are suggested. While in the automatic system the thesis dealt with the 4 characteristics of this system which are the Centralized and Decentralized type I, II, III. For each of these characteristics the system structures, their appropriateness, advantages and disadvantages are discussed. In summary, the appropriateness of each system in their applications depends on the size of the bank, volume of the works, number of branches and the environments.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.1982.10-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectธนาคารและการธนาคาร -- การอัตโนมัติen_US
dc.subjectเครื่องฝาก-ถอนเงินอัตโนมัติen_US
dc.subjectBanks and banking--Automationen_US
dc.subjectAutomated tellersen_US
dc.titleการศึกษาการใช้เครื่องคอมพิวเตอร์กับระบบการรับฝากเงินของธนาคารen_US
dc.title.alternativeA study of a computerized banking teller systemen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมคอมพิวเตอร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.1982.10-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Malinee_li_front.pdfหน้าปกและบทคัดย่อ6.44 MBAdobe PDFView/Open
Malinee_li_ch1.pdfบทที่ 12.87 MBAdobe PDFView/Open
Malinee_li_ch2.pdfบทที่ 215.86 MBAdobe PDFView/Open
Malinee_li_ch3.pdfบทที่ 319.1 MBAdobe PDFView/Open
Malinee_li_ch4.pdfบทที่ 422.79 MBAdobe PDFView/Open
Malinee_li_ch5.pdfบทที่ 52.46 MBAdobe PDFView/Open
Malinee_li_back.pdfบรรณานุกรมและภาคผนวก859.08 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.