Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/73245
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเฟื่องอรุณ ปรีดีดิลก-
dc.contributor.authorอริสา แก้วลี-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2021-05-03T07:45:36Z-
dc.date.available2021-05-03T07:45:36Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/73245-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2561en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบผสมวิธี โดยใช้การวิจัยเชิงปริมาณและการวิจัยเชิงคุณภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) วิเคราะห์ความฉลาดทางสังคมของเด็กวัยรุ่นตอนต้นในกรุงเทพมหานคร 2) วิเคราะห์สภาพปัจจุบันและปัจจัยที่เกี่ยวข้องต่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ระหว่างครอบครัวและโรงเรียนในการพัฒนาความฉลาดทางสังคมของเด็กวัยรุ่นตอนต้น และ 3) นำเสนอแนวทางการส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ระหว่างครอบครัวและโรงเรียนในการพัฒนาความฉลาดทางสังคมของเด็กวัยรุ่นตอนต้น โดยใช้แบบประเมินเก็บข้อมูลจากนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5-6 ในโรงเรียนสังกัด สำนักการศึกษา กรุงเทพมหานคร การสัมภาษณ์กลุ่ม ผู้บริหาร ครูและผู้ปกครอง ในโรงเรียนกรณีศึกษา และการสนทนากลุ่ม (focus group) นักวิชาการ ครูและอาจารย์ ผลการวิจัยพบว่า 1. เด็กวัยรุ่นตอนต้นในกรุงเทพมหานครมีความฉลาดทางสังคมอยู่ในระดับปานกลาง และมีความตระหนักรู้ทางสังคมสูงกว่าการมีปฏิสัมพันธ์ทางสังคม 2. สภาพปัจจุบันของการจัดกระบวนการเรียนรู้ระหว่างครอบครัวและโรงเรียนในการพัฒนาความฉลาดทางสังคมของเด็กวัยรุ่นตอนต้น พบว่ามี 3 มีขั้นตอน คือ 1) การร่วมกันตระหนักและวิเคราะห์ปัญหาความฉลาดทางสังคมของนักเรียน 2) การร่วมกันกำหนดแนวทางการแก้ไขปัญหาและนำไปปฏิบัติ และ 3) การติดตามประเมินผล ปัจจัยที่เกี่ยวข้องต่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ระหว่างครอบครัวและโรงเรียนในการพัฒนาความฉลาดทางสังคมของเด็ก ประกอบด้วย การมีส่วนร่วม การสื่อสาร การอบรมสั่งสอน และการจัดกิจกรรมพัฒนาความฉลาดทางสังคม 3. แนวทางการส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ระหว่างครอบครัวและโรงเรียนในการพัฒนาความฉลาดทางสังคมของเด็กวัยรุ่นตอนต้น มี 3 ขั้นตอนได้แก่ 1) การสร้างความตระหนักให้ผู้ปกครองและครูเห็นถึงความสำคัญและปัญหาของความฉลาดทางสังคมในเด็กวัยรุ่นตอนต้นเพื่อสร้างความร่วมมือในการพัฒนาความฉลาดทางสังคมของเด็ก 2) การร่วมกันกำหนดแนวทางการพัฒนาความฉลาดทางสังคมเพื่อให้ครอบครอบครัวและโรงเรียนนำไปปฏิบัติในทิศทางเดียวกัน และ3) การประเมินความฉลาดทางสังคมของเด็ก เพื่อให้ครอบครัวและโรงเรียนนำผลการประเมินไปพัฒนาปรับปรุงได้อย่างถูกจุดและเพื่อให้เด็กวัยรุ่นตอนต้นสามารถพัฒนาความฉลาดทางสังคมได้อย่างสมบูรณ์en_US
dc.description.abstractalternativeThis thesis used the mixed methods research by using both quantitative and qualitative approaches. There are 3 objectives (1) to analyze social intelligence of early adolescents in Bangkok, (2) to examine current state conditions and factors that related to learning process between families and schools to develop social intelligence of early adolescents and (3) to indicate guidelines for promotion of learning process between families and schools to develop social intelligence of early adolescents. The subjects were elementary students studying at Grade 5 and Grade 6 in schools under Bangkok Metropolitan Administration including a group interview to the administrators of schools, teachers, and families. From the school case study and the focus group discussion with academic officers, teachers and professors, the results were as follows: 1. Early adolescents in Bangkok had a moderate level of social intelligence and higher level of social awareness than social facility. 2. Learning process between families and schools to develop social intelligence of early adolescents found that there were 3 steps: 1) incorporating awareness and analyzing students' social intelligence problems, 2) incorporating problem solving and the solution implementation, and 3) a monitoring and evaluation. In addition, the factors related to the learning process between families and schools in the development of children’s social intelligence including participation, communication, instructing and arranging activities to improve social intelligence. 3. Guidelines for promotion of learning process between families and schools to develop social intelligence of early adolescents were found in 3 steps: 1) raising awareness for parents and teachers in understanding the importance and problems of social intelligence in early adolescents in order to incorporate in the development of children’s social intelligence, 2) incorporating guidelines in the development of social intelligence between families and schools on good practice in the same way, and 3) the importance of social intelligence assessment for children in order to support families and schools involved in improving the results of the assessment correctly and in order to allow early adolescents developing social intelligence completelyen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2018.1027-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectความฉลาดทางสังคม-
dc.subjectการเรียนรู้-
dc.subjectวิจัยแบบผสมผสาน-
dc.subjectSocial intelligence-
dc.subjectLearning-
dc.subjectMixed methods research-
dc.titleแนวการทางส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ระหว่างครอบครัวและโรงเรียนในการพัฒนาความฉลาดทางสังคมของเด็กวัยรุ่นตอนต้นในกรุงเทพมหานครen_US
dc.title.alternativeGuidelines for promotion of learning process between family and school to develop social intelligence of early adolescence in Bangkok metropolitanen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineพัฒนศึกษาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorFuangarun.P@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.THE.2018.1027-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Edu_5983371727_Arisa Ke.pdf5.46 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.