Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/73406
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสมชาย เอี่ยมอ่อง-
dc.contributor.authorวิเชียร จุฬาเสรีกุล-
dc.date.accessioned2021-05-17T03:47:45Z-
dc.date.available2021-05-17T03:47:45Z-
dc.date.issued2543-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/73406-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.) -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543en_US
dc.description.abstractที่มาและเหตุผล : ยามัยโคฟีโนเลตโมฟีติล (MMF) เป็นยากดภูมิคุ้มกันซึ่งเปลี่ยนไปเป็น mycophenolic acid (MPA) อย่างรวดเร็วหลังรับประทาน ขนาดยาที่ใช้ในผู้ป่วยต่างประเทศประมาณ 2 กรัมต่อวัน แต่เนื่องจากในผู้ป่วยชาวไทยไม่สามารถทนต่อฤทธิ์ข้างเคียงของยาโดยเฉพาะคลื่นไส้ อาเจียน อุจจาระร่วงในขนาดดังกล่าว ทำให้ส่วนใหญ่ทานยาที่ขนาด 1-1.5 กรัมต่อวัน นอกจากนี้ยังไม่มีการศึกษาเภสัชจลนศาสตร์ในประเทศไทยมาก่อน วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1.เพื่อศึกษาเภสัชจลนศาสตร์ของยามัยโคฟีโนเลตโมฟีติลในผู้ป่วยปลูกถ่ายไตชาวไทย 2.เปรียบเทียบค่าเภสัชจลนศาสตร์ของยามัยโคฟีโนเลตโมฟีติลในขนาด 1 กรัมต่อวันในผู้ป่วยปลูกถ่ายไตชาวไทยกับค่าเภสัชจลนศาสตร์ของยามัยโคฟีโนเลตโมฟีติลในขนาด 2 กรัมต่อวันในผู้ป่วยปลูกไตทั้งสิ้น 19 ราย ได้ศึกษาเภสัชจลนศาสตร์โดยการเก็บตัวอย่างเลือดก่อนและหลังทานยายามัยโคฟีโนเลตโมฟีติล ขนาด 500 มิลลิกรัม แล้วนำไปตรวจทางห้องปฏิบัติการ ด้วยวิธี high performance liquid chromatography พื้นที่ภายใต้เส้นระดับยาที่จุดเวลาต่าง ๆ ภายหลังการให้ยาในช่วงเวลา 12 ชั่วโมง (AUC0-12 h) อาศัยการคิดพื้นที่สี่เหลี่ยมคางหมู ผลการศึกษา : พบว่า MPA พื้นที่ภายใต้เส้นระดับยาที่จุดเวลาต่าง ๆ ภายหลังการให้ยาในช่วงเวลา 12 ชั่วโมง (AUC0-12 h) มีค่าเฉลี่ย 37.46 ± 3.46 ไมโครกรัมชั่วโมงต่อมิลลิลิตร ระดับ MPA สูงสุดเฉลี่ย 5.7 ± 1.18 ไมโครกรัมชั่วโมงต่อมิลลิลิตร ระยะเวลาที่ระดับ MPA สูงสุดเฉลี่ย 1.32 ± 0.82 ชั่วงโมงระดับ MPA ต่ำสุดเฉลี่ย 2.7 ± 0.29 ไมโครกรัม ชั่วโมงต่อมิลลิลิตร MPA ในเลือดที่เวลา 8 ชั่วโมงภายหลังการทานยามีความสัมพันธ์ทางสถิติสูงสุดกับค่า AUC0-12 h(R2 = 0.74, p = 0.00) สรุปผลการวิจัย 1.ระดับพลาสมา MPA ของผู้ป่วยที่ได้รับยา MMF ขนาด 1 กรัมต่อวัน แตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติกับขนาด 2 กรัมต่อวันในข้อมูลต่างประเทศ (p = 0.01) แต่อยู่ในเกณฑ์ที่ยอมรับได้ (30-60 ไมโครกรัม ชั่วโมง/มิลลิเมตร 2.Tmax และ ความเข้มข้นต่ำสุดไม่แตกต่างจากการศึกษาอื่น 3.ความเข้มข้น ณ จุดเวลาที่ 8 ชั่วโมง เป็นดัชนีที่ดีที่สุดในการทำนาย ค่าพื้นที่ใต้กราฟ ความเข้มข้นเวลา 0.12 ชั่วโมง (AUC0-12)-
dc.description.abstractalternativeBACKGROUND: MMF which is a prodrug of an immunosuppressive drug, mycophenolic acid (MPA), has been effectively used in kidney transplantation. The suggested dose of MMF in the Western KT patients is 2 gm/d. Because of the gastrointestinal side effects of MMF at such dose, several Thai KT patients usually obtain MMF at the lower dose, 1-1.5 gm/d. No pharmacokinetic data of MMF is available in Thailand. OBJECTIVE: To study was performed in 19 Thai KT patients with stable renal function After an overnight fasting, a single oral dose of 500 mg MMF was given. Plasma concentrations of MPA, determined by high-performance liquid chromatography (HPLC), were measured at the time of 0 (predose) to 12 hours after drug administration. A complete area under the concentration time curve (AUC) from 0 to 12 hours, AUC 0-12hr-1 was calculated by using the trapezoidal rule. RESULTS: The time to maximal concentration (Tmax) were 1.32 ± 0.82 hr(mean ± SD). The maximal and minimal plasma concentration (Cmax and Ctrough) for MPA were 5.70 ± 1.18 and 2.7 ± 0.29 µg.hr/mL respectively. The values of AUC0-12 hr for MPA were 37.46 ± 3.46 µg.hr/mL. MPA concentration at 8 hrs after dosing had the best value of correlation coefficient with the AUC0-12hr (R2 = 0.74, p <0.000). CONCLUSIONS: The pharmacokinetic data including AUC 0-12 hr in Thai KT patients receiving 1 gm/d of MMF are comparable with the KT patients who obtain 2 gm/d of MMF. The MPA concentration at 8 hrs after dosing is the best single alternative indicator of AUC0-12 hr-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2000.73-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectยากดภูมิคุ้มกัน -- เภสัชจลนศาสตร์en_US
dc.subjectไต -- การปลูกถ่ายen_US
dc.subjectMycophenolic acid -- Pharmacokineticsen_US
dc.subjectImmunosuppressive agentsen_US
dc.subjectKidneys -- Transplantationen_US
dc.titleการศึกษาเภสัชจลนศาสตร์ของยามัยโคฟีโนเลตโมฟีติลในผู้ป่วยปลูกถ่ายไตชาวไทยen_US
dc.title.alternativePharmacokinetics of mycophenolate mofetil after renal allograft transplantation in Thai recipientsen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineอายุรศาสตร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorSomchai.E@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2000.73-
Appears in Collections:Med - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Wichien_ju_front_p.pdfหน้าปก บทคัดย่อ และสารบัญ835.26 kBAdobe PDFView/Open
Wichien_ju_ch1_p.pdfบทที่ 1659.16 kBAdobe PDFView/Open
Wichien_ju_ch2_p.pdfบทที่ 23.92 MBAdobe PDFView/Open
Wichien_ju_ch3_p.pdfบทที่ 3746.1 kBAdobe PDFView/Open
Wichien_ju_ch4_p.pdfบทที่ 4726.03 kBAdobe PDFView/Open
Wichien_ju_ch5_p.pdfบทที่ 5727.62 kBAdobe PDFView/Open
Wichien_ju_back_p.pdfรายการอ้างอิงและภาคผนวก730.14 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.